Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๑-๖ หน้า ๒๘๐ - ๓๓๔

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑-๖ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่ง
เกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๕)
[๘๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ
และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดยอนันตร-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (มีข้อความเหมือน
กับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือน
กับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (ย่อเหมือนกับสหชาตปัจจัยใน
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (ย่อเหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยใน
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (ย่อเหมือนกับนิสสยวารในปัจจยวาร ไม่มี
ฆฏนาเป็นแผนกหนึ่งต่างหาก)
อุปนิสสยปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรค แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลาย
สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย
ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ
... โมหะ ... ทิฏฐิ ... .ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ
... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลาย
สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งของ
ของตนเป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งของของคนอื่นโดย
อุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของตนเป็นปัจจัยแก่
ความยินดีด้วยอํานาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของคนอื่นโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน
๓ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความ
ปรารถนา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ
ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๕)
[๙๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะ ... โมหะแล้วให้ทาน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ โมหะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... เสนาสนะ ... โมหะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ฯลฯ อาศัยโมหะแล้ว
มีมานะ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย
... เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุป-
นิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๙๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๙๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป-
นิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
โมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
ปุเรชาตปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ
โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๕)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๙๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลัง ๆ
โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลัง ๆ และโมหะโดย
อาเสวนปัจจัย
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ (ย่อ) มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
ฯลฯ (ในวาระที่มีอาเสวนปัจจัยเป็นมูล วุฏฐานะและอาวัชชนจิตพึงละไว้ ๑๗
วาระ บริบูรณ์แล้ว เหมือนกับอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย
แก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๙๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่โมหะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย (๓)
[๙๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยวิปากปัจจัย (ทั้งปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) ขันธ์ที่เป็นวิบากเป็น
ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ
อาหารปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหาร
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอาหาร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่โมหะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
(เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอาหารปัจจัย พึงเพิ่มโมหะเข้าด้วย)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง
บน ๓ โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
มัคคปัจจัย (พึงทําปัจจัยเหล่านี้ให้เป็นปัจจัยที่มีเหตุ) เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
(เหมือนกับสัมปยุตตวารในปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน
๓ โดยวิปปยุตตปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (เหมือน
กับทัสสนติกะ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ
โมหะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๕)
[๑๐๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ
[๑๐๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยเป็นอัตถิปัจจัย กวฬิง-
การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๕)
[๑๐๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๒๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิง-
การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ มี ๓ วาระ พึงจำแนก
โสดาปัตติมรรคนัย พึงกําหนดบทว่าอุทธัจจะไว้) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๗] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย /lมี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๐๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๐๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๑๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๕)
[๑๑๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
(ในข้อนี้มีสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยเจือปนกันอยู่ พึงทําตามพระบาลีใน
การนับใคร่ครวญแล้วจึงนับ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
(แม้ในข้อนี้มีคำว่า อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย ในพระบาลีไม่มี
เมื่อจะนับพึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค
เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
(ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยมีวาระเจือปนกันอยู่ พึงทําตามพระ
บาลี)
[๑๑๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (แม้ในข้อนี้สหชาตปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย มีวาระเจือปนกันอยู่) (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (แม้ในข้อนี้ก็มีอารัมมณปัจจัยและ
อุปนิสสยปัจจัยอยู่ด้วย) (๓)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๕)
(แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยก็มีอยู่ วาระที่ท่านไม่ได้เขียนไว้
เมื่อจะนับในพระบาลีก็จะไม่สมกับพยัญชนะ วาระที่ไม่ได้เขียนไว้ในพระบาลีมี
จำนวนปรากฏอยู่ ถ้าสงสัยพึงพิจารณาดูในอัตถิปัจจัยในอนุโลม)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กัมเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
อธิปติปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น มี ๑ วาระ (ไม่มีปฏิสนธิ) มหาภูตรูป
๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหา-
ภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต-
ปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะอัญญมัญญปัจจัย (จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูปและอุปาทายรูปไม่มี) เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะ
อาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (มี ๗
วาระ เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
นอาเสวนปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย (มี ๑ วาระ
พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นกัมมปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่
มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มีปฏิสนธิ)
เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (มี ๓ วาระ) เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

นิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี
๓ วาระ
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี
๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ...
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๑ วาระ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (แม้ในข้อนี้ฆฏนาก็เหมือนกับเหตุปัจจัย)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ...
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ...
ทำหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย (ย่อ พึงเพิ่มฆฏนาทั้งหมด)
อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปาก-
ปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๕] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (ย่อ
เหมือนกับปฏิจจวาร)
นอธิปติปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] ... เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร
มี ๗ วาระ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
นอาเสวนปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นกัมมปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็น
เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มีใน
ปฏิสนธิขณะ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่
สภาวธรรมที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่
เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ ... เพราะ
นสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๓ วาระ) เพราะ
โนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๔] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๔ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น