Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๖ หน้า ๒๖๙ - ๓๒๑

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๖ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๘.อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอาสวะ
แต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๒] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะจึง
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ อาสวะจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ อาสวะและขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยอาสวะจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น
อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ
... เพราะอธิปติปัจจัย (พึงทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหมือนกับ
อารัมมณปัจจัย)
... เพราะอนันตรปัจจัย (เหมือนกับอารัมมณปัจจัยนั่นเอง พึงเพิ่มคำว่า ที่
เกิดก่อน ๆ ไว้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๘.อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
... เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนิสสยปัจจัย
... เพราะอุปนิสสยปัจจัย (เหมือนกับอารัมมณปัจจัยนั่นเอง ไม่มีการจำแนก
ไว้ มี ๓ วาระ พึงเพิ่มอุปนิสสยปัจจัยทั้งหมด)
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย
โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัย
โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๒๔] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๘.อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๒๕] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๒๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๘.อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๒๗] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะ
แต่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น
อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็น
อาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยอาสวะและที่สัมปยุตด้วยอาสวะ
แต่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๒๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๒๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๙.อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๓๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงนับบทที่เป็นอนุโลม) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อาสวอาสวสัมปยุตตทุกะ จบ
๑๙. อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๑๓๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอาสวะแต่เป็นอารมณ์ของ
อาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน ย่อ)
อาสววิปปยุตตสาสวทุกะ จบ
อาสวโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๔. สัญโญชนโคจฉกะ
๒๐. สัญโญชนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น
สีลัพพตปรามาสสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น มาน-
สังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
กามราคสังโยชน์เกิดขึ้น อิสสาสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น
มัจฉริยสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัย
ปฏิฆสังโยชน์เกิดขึ้น ภวราคสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยมานสังโยชน์เกิดขึ้น
อวิชชาสังโยชน์อาศัยภวราคสังโยชน์เกิดขึ้น อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัย
กามราคสังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
สังโยชน์และอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และ
ที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสังโยชน์อวิชชาสังโยชน์
และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นสังโยชน์และอาศัยกามราคสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
(ในอารัมมณปัจจัย รูปไม่มี อธิปติปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัย วิจิกิจฉาสังโยชน์
ไม่มี)
... เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ อวิชชาสังโยชน์อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์และสัมปยุตต-
ขันธ์เกิดขึ้น (๓)
(ย่อ เหมือนกับอาสวโคจฉกะ พึงยกนอารัมมณปัจจัยทั้งหมดขึ้นแสดง)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒.สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงนับทุกปัจจัยอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๔ วาระ)

วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
๒๐. สัญโญชนทุกะ ๒. สหชาตวาร
[๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดร่วมกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เพราะ
เหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
๒๐. สัญโญชนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นสังโยชน์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๓.ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์ทำขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สังโยชน์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ สังโยชน์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์ทำ
กามราคสังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชา-
สังโยชน์ทำกามราคสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นสังโยชน์และทำสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูก
เป็นจักกนัย) ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่
ไม่เป็นสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสังโยชน์
อวิชชาสังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นสังโยชน์และทำกามราคสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) ทิฏฐิสังโยชน์
อวิชชาสังโยชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทำกามราคสังโยชน์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร

[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
[๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ

(ในที่ที่มีหทัยวัตถุได้พึงทำให้ไม่แตกต่างกัน)

นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงเพิ่มการนับ ๒ อย่างนอกนี้ และนิสสยวารอย่างนี้)
๒๐. สัญโญชนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม
เหตุปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์เกิดระคนกับกามราคสังโยชน์ (มี
๙ วาระอย่างนี้ พึงเพิ่มเฉพาะที่เป็นอรูป)
(สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวารพึงทำอย่างนี้)
๒๐. สัญโญชนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
สังโยชน์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภสังโยชน์ สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) เพราะปรารภสังโยชน์ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็น
มูล) เพราะปรารภสังโยชน์ สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณา
ฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นสังโยชน์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นสังโยชน์
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์
ที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้น สังโยชน์และขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มเฉพาะที่ปรารภไว้)
อธิปติปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลทำสังโยชน์ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มี ๓ วาระ (มีอารมณ์อย่างหนักแน่น)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ มี ๓ วาระ (พึง
เพิ่มอารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติแม้ทั้ง ๓ วาระ พึงจำแนกแม้ทั้ง ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลทำ
สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่สังโยชน์ที่เกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่
เป็นสังโยชน์ซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่สังโยชน์ที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่สังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มแม้
ทั้ง ๒ วาระอย่างนี้) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย (แม้ทั้ง
๓ วาระก็พึงแสดงอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่สังโยชน์โดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อาเสวนปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (พึงจำแนกไว้) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (พึงจำแนก
ไว้) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่สังโยชน์โดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (พึง
จำแนกไว้) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตสังโยชน์โดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่สังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์ ฯลฯ (ย่อ เหมือนกับอาสว-
ทุกะ) (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (เหมือน
กับอาสวทุกะ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (พึงจำแนกเหมือนกับอาสวทุกะ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
(พึงจำแนกเหมือนกับอาสวทุกะ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร

มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็น
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๐.สัญโญชนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์และที่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๓๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงแจกอนุโลมมาติกา)
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สัญโญชนทุกะ จบ
๒๑. สัญโญชนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวารเป็นต้น
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของ
สังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สัญโญชนิยทุกะ จบ
๒๒. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุต
จากสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๓)
[๔๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และ
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่
วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และ
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และ
ที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่
วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากสังโยชน์ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๘] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌาณปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๔๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๕๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๒๒. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงปฏิสนธิ) ... ทำ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงปฏิสนธิ) ขันธ์ที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และ
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่
วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย ฯลฯ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
[๕๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
จากสังโยชน์ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากสังโยชน์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
[๕๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และ
ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และ
ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(ย่อ) (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๐] นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๖๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ พึงทำอย่างนี้)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๖๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๖ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๖ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๒๒. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) (ย่อ)

[๖๔] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
[๖๕] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

(พึงเพิ่มการนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร)
๒๒. สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์ ขันธ์และโมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๖๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณา
ฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่วิปปยุตจากสังโยชน์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้
แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์และ
โมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
ฯลฯ รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิตและโมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์และโมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์และโมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์
และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบท
ที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์และโมหะที่
วิปปยุตจากสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์และโมหะที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๓)
[๗๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณาผล พิจารณา
นิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ
ทำความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน
ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัย
[๗๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๗๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่วิปปยุต
จากสังโยชน์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากสังโยชน์ซึ่งเกิดหลัง ๆ
ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๗๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และโมหะ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๗๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์ โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะ
ที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ...
โภชนะ ... เสนาสนะและโมหะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา
ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัย
ศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะและโมหะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและ
โมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ
และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป-
นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
และโมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่
วิปปยุตจากสังโยชน์โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ และ
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๘๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์ซึ่งเกิดภายหลังเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่วิปปยุตจากสังโยชน์ซึ่งเกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อาเสวนปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์โดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ (อาวัชชนจิตและวุฏฐานะไม่มี)
กัมมปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๘๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๘๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย ฯลฯ (๓)
[๘๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
สังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ พึงขยายให้พิสดาร) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์และโมหะที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๘๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่โมหะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๐] เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๙๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๙๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๒.สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์
และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๙๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่วิปปยุตจากสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๙๔] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๙๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๓.สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๖ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๙๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับบทที่เป็นอนุโลม)
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ จบ
๒๓. สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์
และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๓.สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์
แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๙๘] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจน
ถึงมหาภูตรูป) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์อาศัย
ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์
แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ สังโยชน์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๙๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และเป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราค-
สังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์และอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๑ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น