Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๐๕-๘ หน้า ๒๙๒ - ๓๓๒

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕-๘ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒



พระวินัยปิฎก
มหาวรรค ภาค ๒
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๑. อุปาลิปุจฉากถา
ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า “สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่
ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่
ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ... ... ลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยส
กรรม ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... ลงปฏิสารณียกรรม
แก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณีย
กรรม ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม ... ... ลงปฏิสารณีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ...
... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปริวาส ... ... ชักภิกษุผู้ควรปริวาสเข้าหาอาบัติ
เดิม ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควร
ชักเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ชักภิกษุผู้ควรมานัตเข้าหาอาบัติเดิม ... ... อัพภานภิกษุ
ผู้ควรมานัต ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรอัพภาน ... ... ให้ภิกษุผู้ควรอัพภาน
อุปสมบทให้กุลบุตร ... ... อัพภานกุลบุตรผู้ควรอุปสมบท กรรมนั้น จัดว่าเป็น
กรรมชอบด้วยธรรม จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยวินัยหรือ พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “อุบาลี กรรมนั้นจัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม
เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย
อุบาลี สงฆ์พร้อมเพรียงกันให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ให้สติวินัย
แก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย
อุบาลี อย่างนี้แลจัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย
อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด
อุบาลี สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย
ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้
ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม
... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ... ... ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควร
นิยสกรรม ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม ... ... ลงนิยสกรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๒ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๑. อุปาลิปุจฉากถา
แก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนีย
กรรม ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม ... ... ลงอุกเขปนีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม ... ... ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนีย
กรรม ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่
ภิกษุผู้ควรปริวาส ... ... ชักภิกษุผู้ควรปริวาสเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้ปริวาสแก่
ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม ...
... ชักภิกษุผู้ควรมานัตเข้าหาอาบัติเดิม ... ... อัพภานภิกษุผู้ควรมานัต ... ...
ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรอัพภาน ... ... ให้ภิกษุผู้ควรอัพภานอุปสมบทให้กุลบุตร ... ...
อัพภานผู้ควรอุปสมบท
อุบาลี อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย
อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด”
เรื่องกรรมชอบด้วยธรรมชอบด้วยวินัย
หมวดที่ ๒ อีก ๑๖ กรณี
[๔๐๓] ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า “สงฆ์พร้อมเพรียงกันให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้
ควรสติวินัย ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย กรรมนั้น จัดว่าเป็นกรรม
ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัยหรือ พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “อุบาลี กรรมนั้น จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยธรรม
เป็นกรรมชอบด้วยวินัย”
ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า “สงฆ์พร้อมเพรียงกันให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควร
อมูฬหวินัย ... ... ลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ...
ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยส
กรรม ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... ลงปฏิสารณีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม .. ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนีย
กรรม ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรปริวาส ... ... ชักภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๓ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๑. อุปาลิปุจฉากถา
เข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรมานัต ... ... อัพภานภิกษุผู้ควรอัพภาน
... ... อุปสมบทให้กุลบุตรผู้ควรอุปสมบท กรรมนั้น จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยธรรม
เป็นกรรมชอบด้วยวินัยหรือ พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า “อุบาลี กรรมนั้น จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยธรรม
เป็นกรรมชอบด้วยวินัย
อุบาลี สงฆ์พร้อมเพรียงกันให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ให้อมูฬหวินัยแก่
ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย
อุบาลี อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย
อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมไม่มีความผิด
อุบาลี สงฆ์พร้อมเพรียงกันให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ลง
ตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม ... ... ลง
ปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุ
ผู้ควรปฏิสารณียกรรม ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ...
... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรปริวาส ... ... ชักภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิมเข้าหา
อาบัติเดิม ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรมานัต ... ... อัพภานภิกษุผู้ควรอัพภาน ...
... อุปสมบทให้กุลบุตรผู้ควรอุปสมบท
อุบาลี อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย
อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมไม่มีความผิด”
เรื่องกรรมไม่ชอบด้วยธรรมไม่ชอบด้วยวินัย
หมวดที่ ๓
[๔๐๔] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย
สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรม
ไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๔ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๑. อุปาลิปุจฉากถา
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควร
สติวินัย ... ... ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้
ควรสติวินัย ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ลงปฏิสารณีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ให้
ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ชักภิกษุผู้ควรสติวินัยเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้
มานัตแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... อัพภานภิกษุผู้ควรสติวินัย ... ... ให้ภิกษุผู้ควร
สติวินัยอุปสมบทให้กุลบุตร
ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่
ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด
[๔๐๕] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่
ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่
ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย
... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควร
อมูฬหวินัย ... ... ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ลงอุกเขปนีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ชัก
ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัยเข้าหาอาบัติเดิม ... ... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ...
... อัพภานภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย ... ... ให้ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัยให้อุปสมบทกุลบุตร
... ... ให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย
ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่
ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด
[๔๐๖] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควร
ตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ...
ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงปฏิสารณียกรรม


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๕ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๑. อุปาลิปุจฉากถา
แก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสส-
ปาปิยสิกากรรม ... ... ให้ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ... ให้
สติวินัย แก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ... ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรตัสส-
ปาปิยสิกากรรม
ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่
ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกันทำลง ... ... แก่ภิกษุผู้ควรลงตัชชนียกรรม
... ... แก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม ... ... แก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม ... ... แก่
ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม ... ... แก่ภิกษุผู้ควรอุกเขปนียกรรม ... ... แก่ภิกษุผู้ควร
ปริวาส ... ... แก่ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม ... ... แก่ภิกษุผู้ควรมานัต ... ... แก่
ภิกษุผู้ควรอัพภาน ... ... ให้สติวินัยแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ให้อมูฬหวินัย
แก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ลงตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ...
... ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท
... ... ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ลงปฏิสารณียกรรมแก่
ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ให้
ปริวาสแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... ชักกุลบุตรผู้ควรอุปสมบทเข้าหาอาบัติเดิม ...
... ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท ... ... อัพภานให้แก่ภิกษุผู้ควรอุปสมบท
ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่
ชอบด้วยวินัย อย่างนี้แล สงฆ์ย่อมมีความผิด”
อุปาลิปุจฉาภาณวารที่ ๒ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๖ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๒. ตัชชนียกัมมกถา
๒๔๒. ตัชชนียกัมมกถา
ว่าด้วยตัชชนียกรรม
เรื่องภิกษุแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม
[๔๐๗] ภิกษุทั้งหลาย ก็ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษา
กันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วได้พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้
ถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้น
ไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วได้แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุ
นั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูก
สงฆ์แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุนั้น” แล้วได้พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๗ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๒. ตัชชนียกัมมกถา
เรื่องภิกษุในอาวาสอื่นพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม
ลงตัชนียกรรมเป็นต้น
[๔๐๘] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ก่อความบาดหมาง ก่อ
ความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ พวกเรา
จะลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วได้แบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้น
ไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วได้แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วได้พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้นพวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วได้แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๘ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๒. ตัชชนียกัมมกถา
[๔๐๙] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แลก่อความบาดหมาง
ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละพวก
เราจะลงตัชชนียกรรมแก่เธอ” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้น
ไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุ
นั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูป
นี้แลถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ
รูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูป
นี้แลถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่เธอ” แล้วได้พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
[๔๑๐] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แลก่อความบาดหมาง


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๒๙๙ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๒. ตัชชนียกัมมกถา
ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ พวกเรา
จะลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ
รูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุ
นั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุ
นั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูป
นี้แลถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูป
นั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูป
นี้แลถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
[๔๑๑] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษา
กันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แลก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๐ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๓. นิยสกัมมกถา
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุ
นั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูป
นี้แลถูกสงฆ์พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แล
ถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลงตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
เรื่องสรุปความที่นักปราชญ์ผูกให้เป็นจักรเปยยาล จบ
๒๔๓. นิยสกัมมกถา
ว่าด้วยนิยสกรรม
เรื่องสงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้โง่เขลาไม่ฉลาด
[๔๑๒] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุเป็นคนโง่เขลา ไม่ฉลาด
มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๑ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๔. ปัพพาชนียกัมมกถา
คฤหัสถ์อันไม่สมควร ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย
ภิกษุรูปนี้เป็นคนโง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลี
กับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่สมควร เอาละ พวกเราจะลงนิยสกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงนิยสกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้น
ไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุ
รูปนี้แลถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงนิยสกรรม เอาละ พวกเราจะลงนิยสกรรม
แก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงนิยสกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ...
แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกัน โดย
ธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา๑
๒๔๔. ปัพพาชนียกัมมกถา
ว่าด้วยปัพพาชนียกรรม
เรื่องสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูล
[๔๑๓] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุประทุษร้ายตระกูล มีมารยาททราม
ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ประทุษร้าย
ตระกูล มีมารยาททราม เอาละ พวกเราจะลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่ง
พวกโดยไม่ชอบธรรมลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่
อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้
แลถูกสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงปัพพาชนียกรรม เอาละ พวกเราจะลง

เชิงอรรถ :
๑ คือ พึงเพิ่มข้อควาทหมุนเวียนเหมือนในตัชชนียกรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๒ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๖. อทัสสนอุกเขปนียกัมมกถา
ปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงปัพพาชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป
... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๔๕. ปฏิสารณียกัมมกถา
ว่าด้วยปฏิสารณียกรรม
เรื่องสงฆ์ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ด่าบริภาษคฤหัสถ์
[๔๑๔] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุด่าบริภาษพวกคฤหัสถ์
ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ด่า
บริภาษพวกคฤหัสถ์ เอาละ พวกเราจะลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่ง
พวกโดยไม่ชอบธรรมลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดย
ไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ...
พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
เรื่องพระผู้มีพระภาคตรัสอุกเขปนียกรรมในกรณีต่าง ๆ จบ
๒๔๖. อทัสสนอุกเขปนียกัมมกถา
ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
[๔๑๕] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะ
เห็นอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุ
รูปนี้ต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะเห็นว่าเป็นอาบัติ เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนีย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๓ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๘. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมกถา
กรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลง
อุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดย
ไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ...แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ...
พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๔๗. อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมกถา
ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ
[๔๑๖] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะทำ
คืนอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุ
รูปนี้ต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะทำคืนอาบัติ เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนียกรรม
เพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงอุกเขปนีย กรรม
เพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ...
แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๔๘. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมกถา
ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป
[๔๑๗] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุไม่ปรารถนาจะสละทิฏฐิบาป
ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แลไม่
ปรารถนาจะสละทิฏฐิบาป เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๔ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๙. ตัชชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
บาปแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละ
ทิฏฐิบาปแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบ
ธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา๑
๒๔๙. ตัชชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับตัชชนียกรรม
[๔๑๘] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับ
ประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้แลถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม
แล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ
พวกเราจะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น

เชิงอรรถ :
๑ กรรมทั้ง ๕ อย่างดังกล่าวมานี้ เรียกโดยรวมว่า “นิคคหกรรม” ความหมายและสาเหตุที่ทำให้ภิกษุ
ถูกทำนิคคหกรรมแต่ละอย่าง สรุปได้ดังนี้
๑. ตัชชนียกรรม แปลว่า กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ควรขู่ สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ก่อ
ความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์
๒. นิยสกรรม แปลว่า กรรมคือการถอดยศ สงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มี
อาบัติมาก ไม่มีมารยาท
๓. ปัพพาชนียกรรม แปลว่า กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ควรขับไล่ สงฆ์ลงปัพพาชนียกรรมแก่
ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูล มีมารยาทเลวทราม
๔. ปฏิสารณียกรรม แปลว่า กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ควรให้กลับระลึกได้ สงฆ์ทำปฏิสารณีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ด่าบริภาษคฤหัสถ์
๕. อุกเขปนียกรรม แปลว่า กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ควรยกเสียจากหมู่ สงฆ์ลงอุกเขปนีย
กรรมแก่ภิกษุผู้แม้ต้องอาบัติก็ไม่ปรารถนาจะเห็นว่าเป็นอาบัติ แม้ต้องอาบัติแล้วก็ไม่ปรารถนา
จะทำคืน (แสดง) อาบัติ แม้มีทิฏฐิบาปก็ไม่ปรารถนาจะสละทิฏฐิบาปนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๕ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๙. ตัชชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย สงฆ์
แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนี้ เอาละ พวกเราจะระงับ
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย สงฆ์
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนี้ เอาละ พวกเราจะ
ระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมระงับตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย สงฆ์
พร้อมเพรียงกันโดยชอบธรรมระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนี้ เอาละ พวกเราจะ
ระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูประงับตัชชนียกรรมแก่
ภิกษุรูปนั้น ภิกษุนั้นไปจากอาวาสนั้นสู่อาวาสอื่น
แม้ในอาวาสนั้น พวกภิกษุได้ปรึกษากันอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย สงฆ์แบ่ง
พวกโดยธรรมปฏิรูประงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนี้ เอาละพวกเราจะระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูประงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ
รูปนั้น
[๔๑๙] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป
... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ... ... แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๖ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๔๙. ตัชชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
[๔๒๐] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับ
ประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม
แล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ
พวกเราจะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป ... ... แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม
...
[๔๒๑] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุ
ทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนีย
กรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม
เอาละ พวกเราจะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูประงับ
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ... ... แบ่งพวกโดย
ไม่ชอบธรรม ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม
...
[๔๒๒] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุ
ทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนีย
กรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ
พวกเราจะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูประงับ
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม ... ... พร้อมเพรียง
กันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๗ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๑. ปัพพาชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
๒๕๐. นิยสกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับนิยสกรรม
[๔๒๓] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงนิยสกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับนิยสกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงนิยสกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับนิยสกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับนิยสกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูประงับนิยสกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม .
.. ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๕๑. ปัพพาชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับปัพพาชนียกรรม
[๔๒๔] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปัพพาชนียกรรม ถ้าภิกษุ
ทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลง
ปัพพาชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปัพพาชนีย
กรรม เอาละ พวกเราจะระงับปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดย
ไม่ชอบธรรมระงับปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบ
ธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อม
เพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๘ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๓. อทัสสนอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
๒๕๒. ปฏิสารณียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับปฏิสารณียกรรม
[๔๒๕] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงปฏิสารณียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปฏิสารณียกรรม ถ้าภิกษุ
ทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลง
ปฏิสารณียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปฏิสารณีย
กรรม เอาละ พวกเราจะระงับปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่
ชอบธรรม ระงับปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบ
ธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียง
กันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๕๓. อทัสสนอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
[๔๒๖] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะ
ไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่าน
ทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแล้วกลับ
ประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับ อุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่า
เป็นอาบัติ เอาละ พวกเราจะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่
ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม ระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็น
อาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบ
ธรรม ... .... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๐๙ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๕. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
๒๕๔. อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ
[๔๒๗] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม
เพราะไม่ทำคืนอาบัติแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับ
อุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้
ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ
เอาละ พวกเราจะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่ง
พวกโดยไม่ชอบธรรมระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ...
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
๒๕๕. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ละทิฏฐิบาป
[๔๒๘] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม
เพราะไม่สละทิฏฐิบาปแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับ
อุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่าง
นี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละ
ทิฏฐิบาป เอาละ พวกเราจะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแก่ภิกษุ
รูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๐ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๖. ตัชชนียกัมมวิวาทกถา
แก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม
... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
พึงหมุนเวียนเหมือนที่ผ่านมา
เรื่องการระงับตัชชนียกรรมเป็นต้นแก่ภิกษุผู้กลับตัวได้ จบ
๒๕๖. ตัชชนียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในตัชชนียกรรม
[๔๒๙] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษา
กันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละพวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ
รูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรม
แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรม
ทำไม่ดี ต้องทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๓๐] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๑ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๖. ตัชชนียกัมมวิวาทกถา
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ก่อความบาดหมาง ก่อ
ความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละพวกเรา
จะลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ไม่ชอบธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๓๑] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษา
กันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ พวกเราจะลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรม
ทำไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมแบ่งพวกโดยชอบ
ธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้องทำใหม่”
จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๒ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๖. ตัชชนียกัมมวิวาทกถา
[๔๓๒] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ ก่อความบาดหมาง
ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ
พวกเราจะลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๓๓] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุก่อความบาดหมาง ก่อความ
ทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ ก่อความบาดหมาง
ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อเรื่องอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ เอาละ
พวกเราจะลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปลง
ตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรม
ทำไม่ดี ต้องทำใหม่”



{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๓ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๗. นิยสกัมมวิวาทกถา
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๒๕๗. นิยสกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในนิยสกรรม
[๔๓๔] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุเป็นคนโง่เขลา ไม่ฉลาด มี
อาบัติมาก มีมารยาทไม่สมควร อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์
อันไม่สมควร ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย
ภิกษุรูปนี้เป็นคนโง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก มีมารยาทไม่สมควร อยู่คลุกคลี
กับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่สมควร เอาละ พวกเราจะลงนิยสกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงนิยสกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ...
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรม
ทำไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๔ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๕๙. ปฏิสารณียกัมมวิวาทกถา
๒๕๘. ปัพพาชนียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในปัพพาชนียกรรม
[๔๓๕] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุประทุษร้ายตระกูล มีมารยาท
เลวทราม ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุ
รูปนี้ประทุษร้ายตระกูล มีมารยาทเลวทราม เอาละ พวกเราจะลงปัพพาชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวคัดค้านว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม
กรรมพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำ
ไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ถูก
ต้องทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๕๙. ปฏิสารณียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในปฏิสารณียกรรม
[๔๓๖] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุด่าบริภาษพวกคฤหัสถ์ ถ้า
ภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ด่าบริภาษ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๕ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๐. อทัสสนอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
พวกคฤหัสถ์ เอาละ พวกเราจะลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวก
โดยไม่ชอบธรรมลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบ
ธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อม
เพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๐. อทัสสนอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
[๔๓๗] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะ
เห็นว่าเป็นอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุ
รูปนี้ต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะเห็นว่าเป็นอาบัติ เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่ภิกษุนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม
... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๖ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๑. อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๑ อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ
[๔๓๘] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนา
จะทำคืนอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย
ภิกษุรูปนี้ต้องอาบัติแล้วไม่ปรารถนาจะทำคืนอาบัติ เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ...
... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำ
ไม่ดี ต้องทำใหม่”


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๗ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๒. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๒. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมวิวาทกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป
[๔๓๙] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุไม่ปรารถนาจะสละทิฏฐิบาป
ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ไม่ปรารถนา
สละทิฏฐิบาป เอาละ พวกเราจะลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแก่ภิกษุ
รูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแก่
ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ...
... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๘ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๓. ตัชชนียกัมมปกิปัสสัทธิกถา
๒๖๓. ตัชชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับตัชชนียกรรม
[๔๔๐] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม
แล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ
พวกเราจะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมแบ่งพวกกันโดยไม่
ชอบธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้องทำ
ใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๔๑] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมระงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๑๙ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๓. ตัชชนียกัมมปกิปัสสัทธิกถา
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ไม่ชอบธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๔๒] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมระงับตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยไม่ชอบธรรม กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรม
ทำไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมแบ่งพวกกันโดยไม่
ชอบธรรม” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๔๓] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูประงับตัชชนียกรรม
แก่ภิกษุรูปนั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๐ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๓. ตัชชนียกัมมปกิปัสสัทธิกถา
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมแบ่งพวกกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้องทำ
ใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
[๔๔๔] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม เอาละ พวกเรา
จะระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูประงับตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุรูปนั้น
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้องทำ
ใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๑ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๕. ปัพพาชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
๒๖๔. นิยสกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับนิยสกรรม
[๔๔๕] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับ
ประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับนิยสกรรม ถ้าภิกษุทั้งหลาย
ปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงนิยสกรรมแล้ว
กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ขอระงับนิยสกรรม เอาละ พวกเราจะ
ระงับนิยสกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยชอบธรรมระงับนิยสกรรมแก่ภิกษุ
รูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ...
แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๕. ปัพพาชนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับปัพพาชนียกรรม
[๔๔๖] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรม
แล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปัพพาชนียกรรม ถ้า

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๒ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๖. ปฏิสารณีกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ภิกษุทั้งหลายตกลงกันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลง
ปัพพาชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับ
ปัพพาชนียกรรม เอาละ พวกเราจะระงับปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่ง
พวกโดยไม่ชอบธรรมระงับปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกัน
โดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ...
... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำ
ไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๖. ปฏิสารณียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับปฏิสารณียกรรม
[๔๔๗] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงปฏิสารณียกรรม
แล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับปฏิสารณียกรรม ถ้า
ภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่านทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลง
ปฏิสารณียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับ
ปฏิสารณียกรรม เอาละ พวกเราจะระงับปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่ง
พวกโดยไม่ชอบธรรมระงับปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกัน


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๓ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๗. อทัสสอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
โดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ...
พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า ''กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๗. อทัสสนอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
[๔๔๘] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะ
ไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่าน
ทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแล้วกลับ
ประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็น
อาบัติ เอาละ พวกเราจะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติแก่ภิกษุรูป
นั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
แก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม
... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๔ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๘. อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
โดยธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำ
ไม่ดี ต้องทำใหม่”
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๘. อัปปฏิกัมมอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ
[๔๔๙] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะ
ไม่ทำคืนอาบัติแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่าน
ทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแล้วกลับประพฤติชอบ
หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ เอาละ พวกเรา
จะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวกโดยไม่ชอบ
ธรรมระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อมเพรียง
กันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป
... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๕ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๖๙. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้องทำ
ใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
๒๖๙. อัปปฏินิสสัคคอุกเขปนียกัมมปฏิปัสสัทธิกถา
ว่าด้วยความขัดแย้งในการระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป
[๔๕๐] ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง ในกรณีนี้ ภิกษุถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะ
ไม่สละทิฏฐิบาปแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป ถ้าภิกษุทั้งหลายปรึกษากันในเรื่องนั้นอย่างนี้ว่า “ท่าน
ทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแล้วกลับประพฤติชอบ
หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป เอาละ
พวกเราจะระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแก่ภิกษุรูปนั้น” แล้วแบ่งพวก
โดยไม่ชอบธรรมระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปแก่ภิกษุรูปนั้น ... ... พร้อม
เพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยชอบธรรม ... ... แบ่งพวกโดยธรรม
ปฏิรูป ... ... พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป ...
สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมนั้นกล่าวแย้งว่า “กรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม กรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม กรรมแบ่งพวกโดย
ธรรมปฏิรูป กรรมพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี
ต้องทำใหม่”

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๖ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
บรรดาภิกษุในที่ประชุมนั้น พวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมพร้อมเพรียงกันโดย
ธรรมปฏิรูป” และพวกที่กล่าวอย่างนี้ว่า “กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ดี ต้อง
ทำใหม่” จัดเป็นฝ่ายธรรมวาทีในที่ประชุมนั้น
แม้ ๕ วาระนี้ท่านย่อไว้
จัมเปยยขันธกะที่ ๙ จบ
๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
จัมเปยยขันธกะ มี ๓๖ เรื่อง คือ
เรื่องพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่กรุงจัมปา เรื่องพระกัสสป
โคตรในวาสภคามขวนขวายในสิ่งที่พึงปรารถนาเพื่อภิกษุอาคันตุกะ
ครั้นท่านทราบว่าพวกภิกษุอาคันตุกะชำนาญทางโคจรดีแล้ว
จึงเลิกขวนขวายในเวลานั้น แต่ถูกภิกษุอาคันตุกะลงอุกเขปนีย
กรรมเพราะไม่ทำจึงไปเฝ้าพระชินเจ้า
เรื่องภิกษุชาวกรุงจัมปาทำกรรมแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม
พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม ทำกรรมแบ่งพวกโดยชอบธรรม
แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปพร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป
ภิกษุรูปเดียวลงอุกเขปนียกรรมภิกษุรูปเดียวบ้าง
ภิกษุรูปเดียวลงอุกเขปนียกรรมภิกษุ
๒ รูปบ้าง ภิกษุรูปเดียวลงอุกเขปนียกรรมภิกษุหลายรูปบ้าง
ภิกษุรูปเดียวลงอุกเขปนียกรรมสงฆ์บ้าง ภิกษุ ๒ รูปลงอุกเขปนีย
กรรมภิกษุรูปเดียวบ้าง ภิกษุ ๒ รูปลงอุกเขปนียกรรมภิกษุ ๒ รูปบ้าง
ภิกษุ ๒ รูปลงอุกเขปนียกรรมภิกษุหลายรูปบ้าง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๗ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
ภิกษุ ๒ รูปลงอุกเขปนียกรรมสงฆ์บ้าง ภิกษุหลายรูป
ลงอุกเขปนียกรรมภิกษุรูปเดียวบ้าง ภิกษุหลายรูปลงอุกเขปนีย
กรรมภิกษุ ๒ รูปบ้าง ภิกษุหลายรูปลงอุกเขปนียกรรม
ภิกษุหลายรูปบ้าง ภิกษุหลายรูปลงอุกเขปนียกรรมสงฆ์บ้าง
สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมสงฆ์บ้าง เรื่องพระผู้มีพระภาคได้
ทรงสดับแล้วตรัสห้ามเพราะไม่ชอบธรรม
เรื่องกรรมที่ญัตติวิบัติ อนุสาวนาสมบูรณ์ วิบัติโดยอนุสาวนา
สมบูรณ์ด้วยญัตติ วิบัติทั้งสองอย่าง ทำกรรมผิดธรรมวินัย
ผิดสัตถุศาสน์ ทำกรรมที่ถูกคัดค้านกรรมที่กำเริบ ไม่ควรแก่ฐานะ
เรื่องแบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรม พร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม
แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูป
พระตถาคตทรงอนุญาตกรรมที่พร้อมเพรียงกันโดยธรรมเท่านั้น
เรื่องสงฆ์ ๕ ประเภท คือ สงฆ์จตุวรรค สงฆ์ปัญจวรรค
สงฆ์ทสวรรค สงฆ์วีสติวรรค และสงฆ์อติเรกวีสติวรรค
เรื่องยกเว้นอุปสมบทกรรม ปวารณากรรมและอัพภานกรรม
นอกนั้นสงฆ์จตุวรรคทำได้
เรื่องยกเว้นกรรม ๒ อย่าง คือ อุปสมบทกรรมใน
มัชฌิมประเทศและอัพภานกรรม นอกนั้นสงฆ์ปัญจวรรคทำได้ทั้งสิ้น
เรื่องยกเว้นอัพภานกรรมอย่างเดียว นอกนั้นสงฆ์ทสวรรคทำได้
เรื่องสงฆ์วีสติวรรคทำกรรมได้ทุกอย่าง
เรื่องสรุปคน ๒๔ จำพวกคือ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร
สามเณรี ภิกษุผู้บอกลาสิกขา ผู้ต้องอันติมวัตถุ
ผู้ถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นอาบัติ
เพราะไม่ทำคืนอาบัติ เพราะไม่สละทิฏฐิบาป
บัณเฑาะก์ คนลักเพศ ภิกษุผู้เข้ารีตเดียรถีย์ สัตว์ดิรัจฉาน
คนผู้ฆ่ามารดา คนผู้ฆ่าบิดา คนฆ่าพระอรหันต์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๘ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
คนประทุษร้ายภิกษุณี คนทำลายสงฆ์
คนทำร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต อุภโตพยัญชนก
ภิกษุผู้เป็นนานาสังวาส ภิกษุผู้อยู่ในนานาสีมา ภิกษุผู้อยู่ใน
อากาศด้วยฤทธิ์
สงฆ์ทำกรรมแก่ภิกษุใดมีภิกษุนั้นครบจำนวนสงฆ์พอดี
รวม ๒๔ จำพวก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงห้ามไว้
เพราะคนพวกนั้นเป็นคณปูรกะไม่ได้
เรื่องสงฆ์มีภิกษุผู้อยู่ปริวาสเป็นที่ ๔ ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม
ให้มานัตหรืออัพภาน เป็นกรรมที่ใช้ไม่ได้และไม่ควรทำ
เรื่องสงฆ์มีผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิมเป็นที่ ๔ สงฆ์มีภิกษุ
ผู้ควรมานัตเป็นที่ ๔ สงฆ์มีภิกษุผู้ประพฤติมานัตเป็นที่ ๔
สงฆ์มีภิกษุผู้ควรอัพภานเป็นที่ ๔ สงฆ์ ๕ ประเภทนี้
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศว่าทำสังฆกรรมให้ไม่ได้
เรื่องคน ๒๗ จำพวกคือ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร
สามเณรี ภิกษุผู้บอกลาสิกขา ผู้ต้องอันติมวัตถุ วิกลจริต
มีจิตฟุ้งซ่าน กระสับกระส่ายเพราะเวทนา ถูกลงอุกเขปนียกรรม
เพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ เพราะไม่ทำคืนอาบัติ เพราะไม่สละทิฏฐิบาป
บัณเฑาะก์คนลักเพศ ภิกษุผู้เข้ารีตเดียรถีย์ สัตว์ดิรัจฉาน
คนผู้ฆ่ามารดา คนผู้ฆ่าบิดา คนผู้ฆ่าพระอรหันต์
คนประทุษร้ายภิกษุณี คนผู้ทำลายสงฆ์
คนทำร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต อุภโตพยัญชนก
ภิกษุผู้อยู่ในนานาสังวาส ภิกษุผู้อยู่ในนานาสีมา ภิกษุผู้อยู่ใน
อากาศด้วยฤทธิ์ และภิกษุผู้ถูกสงฆ์ทำกรรม ๒๗ จำพวกนี้ค้านไม่ขึ้น
เรื่องคำคัดค้านของภิกษุปกตัตตะฟังขึ้น เรื่องบุคคลที่ถูกขับ
ออกไปดีและบุคคลที่ถูกขับออกไปไม่ดี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๒๙ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
เรื่องคน ๑๑ จำพวก คือ บัณเฑาะก์ คนลักเพศ ภิกษุ
ผู้เข้ารีตเดียรถีย์ สัตว์ดิรัจฉาน คนผู้ฆ่ามารดา คนผู้ฆ่าบิดา
คนผู้ฆ่าพระอรหันต์ คนประทุษร้ายภิกษุณี คนผู้ทำลายสงฆ์
คนทำร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต อุภโตพยัญชนก
คน ๑๑ จำพวกนี้ไม่ควรรับเข้าหมู่
เรื่องคน ๓๒ จำพวก คือ คนมือด้วน เท้าด้วน ทั้งมือ
ทั้งเท้าด้วน คนหูวิ่น คนจมูกแหว่ง คนทั้งหูวิ่นทั้งจมูกแหว่ง
คนนิ้วมือนิ้วเท้าขาด คนมีง่ามมือง่ามเท้าขาด คนเอ็นขาด
คนมือเป็นแผ่น คนค่อม คนเตี้ย คนคอพอก คนถูกสักหมายโทษ
มีรอยเฆี่ยนด้วยหวาย คนมีหมายจับ คนเท้าปุก
คนมีโรคเรื้อรัง คนมีรูปร่างไม่สมประกอบ
คนตาบอดข้างเดียว คนง่อย คนกระจอก คนเป็นโรคอัมพาต
คนเคลื่อนไหวเองไม่ได้ คนชราทุพพลภาพ คนตาบอดทั้งสองข้าง
คนใบ้ คนหูหนวก คนทั้งบอดทั้งใบ้ คนทั้งบอดทั้งหนวก
คนทั้งใบ้ทั้งหนวก คนทั้งบอด ทั้งใบ้ ทั้งหนวก ๓๒ จำพวกนี้
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศว่ารับเข้าหมู่ได้
เรื่องการลงอุกเขปนียกรรมภิกษุผู้ไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ
การลงอุกเขปนียกรรมภิกษุผู้ไม่ทำคืนอาบัติ การลงอุกเขปนียกรรม
ภิกษุไม่สละทิฏฐิบาป ๗ กรณี เป็นกรรมไม่ชอบธรรม
เรื่องการลงอุกเขปนียกรรมภิกษุที่ต้องอาบัติไม่ชอบธรรมอีก
๗ กรณี เรื่องการลงอุกเขปนียกรรมภิกษุที่ชอบธรรม ๗ กรณี
เรื่องกรรมที่ควรทำต่อหน้ากลับทำลับหลัง กรรมที่ควรทำ
โดยการสอบถามกลับไม่ซักถาม กรรมที่ควรทำตามปฏิญญา
กลับทำโดยไม่ปฏิญญา ให้อมูฬหวินัยแก่ภิกษุผู้ควรสติวินัย
ทำตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ควรอมูฬหวินัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๓๐ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
ลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรตัสสปาปิยสิกากรรม ลงนิยสกรรม
แก่ภิกษุผู้ควรตัชชนียกรรม ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรนิยสกรรม
ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปัพพาชนียกรรม
ลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุผู้ควรปฏิสารณียกรรม ให้ปริวาสแก่ภิกษุ
ผู้ควรอุกเขปนียกรรม ชักภิกษุผู้ควรปริวาสเข้าหาอาบัติเดิม
ให้มานัตแก่ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม อัพภานภิกษุผู้ควรมานัต
ให้ภิกษุผู้ควรอัพภานให้อุปสมบทกุลบุตร
ทำกรรมอย่างหนึ่งแก่ภิกษุผู้ควรกรรมอย่างหนึ่ง รวม ๑๖
กรณีเป็นกรรมที่ไม่ชอบด้วยธรรม ไม่ชอบด้วยวินัย
เรื่องทำกรรมนั้น ๆ แก่ภิกษุผู้ควรแก่กรรมนั้น ๆ รวม
๑๖ กรณี เป็นกรรมที่ชอบด้วยธรรมชอบด้วยวินัย เรื่องทำกรรม
แต่ละอย่างไม่ชอบด้วยธรรม ไม่ชอบด้วยวินัย ๑๖ กรณี ๒ หมวด
เรื่องทำกรรมที่ชอบด้วยธรรม ชอบด้วยวินัย ๑๖ กรณี ๒ หมวด
เรื่องหมุนเวียนกรรมมีกรรมแต่ละข้อเป็นมูล พระชินเจ้าตรัสว่า
ไม่ชอบด้วยธรรม เรื่องสงฆ์แบ่งพวกโดยไม่ชอบธรรมลงตัชชนีย
กรรมแก่ภิกษุผู้ก่อความบาดหมาง
เรื่องภิกษุในอาวาสอื่นพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรมลง
ตัชชนียกรรม และภิกษุในอาวาสอื่นแบ่งพวกโดยชอบธรรมก็มี
แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูปก็มี พร้อมเพรียงกันโดยธรรมปฏิรูปก็มี
ลงตัชชนียกรรมเรื่องพร้อมเพรียงกันโดยไม่ชอบธรรม แบ่งพวก
โดยชอบธรรม แบ่งพวกโดยธรรมปฏิรูป และพร้อมเพรียงกัน
โดยธรรมปฏิรูป
นักปราชญ์ผู้มีปัญญาพึงจัดแต่ละข้อเป็นมูลหมุนเวียน
เรื่องสงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุผู้โง่เขลาไม่ฉลาด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๓๑ }

พระวินัยปิฎก มหาวรรค [๙. จัมเปยยขันธกะ] ๒๗๐. รวมเรื่องที่มีในจัมเปยยขันธกะ
เรื่องสงฆ์ลงปัพพาชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูล
เรื่องสงฆ์ทำปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุผู้ด่าบริภาษคฤหัสถ์
เรื่องพระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้นำหมู่ตรัสอุกเขปนียกรรม
แก่ภิกษุผู้ไม่เห็นอาบัติ ไม่ทำคืนอาบัติ และไม่สละทิฏฐิบาป
เรื่องการระงับตัชชนียกรรมเป็นต้นแก่ภิกษุผู้กลับตัวได้
ภิกษุผู้มีปัญญาพึงลงตัชชนียกรรมให้ถูกต้องตามวินัย
ภิกษุผู้ประพฤติเรียบร้อยอนุวัตรตามระเบียบวินัยเหล่านั้น
ขอระงับกรรมเหล่านั้นตามนัยแห่งกรรมที่กล่าวไว้ก่อน
เรื่องในกรรมนั้น ๆ สงฆ์ผู้อยู่ในที่ประชุมคัดค้านว่า
กรรมไม่เป็นอันทำ กรรมทำไม่ถูก ต้องทำใหม่ และเมื่อกรรมระงับ
ภิกษุเหล่านั้นเป็นธรรมวาที
พระมหามุนีทรงเห็นภิกษุพวกเข้ากรรมได้รับความลำบาก
โดยกรรมาวิบัติจึงทรงชี้วิธีระงับได้ ดุจนายแพทย์ผู้ชำนาญได้
บอกตัวยาไว้ฉะนั้น
จัมเปยยขันธกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๕ หน้า :๓๓๒ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น