Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๓๖-๓ หน้า ๗๙ - ๑๑๖

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖-๓ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๓ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ



พระอภิธรรมปิฎก
ธาตุกถา
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] ๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
๗. สัตตมนัย
๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ มนายตนะ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็น
ปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] ๗. สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต
มนสิการ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้น ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต สภาวธรรมที่เป็น
เจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาว-
ธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมี
จิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็น
สมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๗. สัตตมนัย] รวมบทธรรมในสัตตมนัย ๓๗ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
รวมบทธรรมในสัตตมนัย ๓๗ บท
ขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗
อินทรีย์ ๒ ปฏิจจสมุปบาท ๓
สภาวธรรมทั้งหลายที่มีผัสสะเป็นที่ ๕
อธิโมกข์ ๑ มนสิการ ๑
ในติกะ ๓ บท ในมหันตรทุกะ ๗ บท
๒ บทที่สัมปยุตกับจิต คือ สวิตักกสวิจาระ ๑
และที่สัมปยุตด้วยอุเบกขา ๑
สัมปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๗ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๘. อัฏฐมนัย] รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในอัฏฐมนัย ๔๗ บท
๘. อัฏฐมนัย
๘. วิปปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
[๓๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ ฯลฯ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ สภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในอัฏฐมนัย ๔๗ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ สฬายตนะ ๑ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ธรรม ๒ บทจากติกะ (อัชฌัตตพหิทธะและอนิทัสสนอัปปฏิฆะ)
ในอันตรทุกะแรก ๗ บท
ในโคจฉกะ ๑๐ บท ในมหันตรทุกะ
ถัดมา ๑๔ บท ในปีติทุกะสุดท้าย ๖ บท
สภาวธรรม ๔๗ บทเหล่านี้ย่อมไม่ได้
ทั้งในสมุจเฉทะและในโมฆปุจฉกะ
วิปปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทสที่ ๘ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
๙. นวมนัย
๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณ-
ธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๖ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยโสกะ ทุกข์ โทมนัส สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอิทธิบาท สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ
๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยฌาน สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เจตนา มนสิการ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนา สัญญา สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วย
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุต
ด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาว-
ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
[๓๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรม
เหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
สัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่
เป็นอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรม
ที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] ๙. สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทส
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและ
เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต สภาวธรรมเหล่าใด
สัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและ
เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๓๕๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุต
ด้วยกิเลส สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๙. นวมนัย] รวมบทธรรมในนวมนัย ๑๒๐ บท
[๓๕๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
รวมบทธรรมในนวมนัย ๑๒๐ บท
อรูปขันธ์ ๔ มนายตนะ ๑ วิญญาณธาตุ ๗ สัจจะ ๒
อินทรีย์ ๑๔
ปัจจยาการ ๑๒ บทที่ต่อจากปัจจยาการนั้น ๑๖ บท
ในติกะ ๘ บท ในโคจฉกะ ๔๓ บท
ในมหันตรทุกะ ๗ บท ในปิฏฐิทุกะ ๖ บท
บทธรรมเหล่านี้สงเคราะห์เข้าในนวมนิทเทสดังนี้
สัมปยุตเตนสัมปยุตตปทนิทเทสที่ ๙ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๐. ทสมนัย
๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๕๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปขันธ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
วิญญาณขันธ์ มนายตนะ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากจักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุ-
ธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากจักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโน-
วิญญาณธาตุ สมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากนิโรธสัจ จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุต
จากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
[๓๕๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากมนินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๕๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอุเปกขินทรีย์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุต
จากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็น
ปัจจัย สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากรูปภพ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๓
[๓๖๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอสัญญาภพ เอกโวการภพ ปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุ-
โวการภพ โสกะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
อิทธิบาท ฌาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗
อริยมรรคมีองค์ ๘ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต
มนสิการ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๖๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากอธิโมกข์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
๑. ติกะ
[๓๖๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็น
อกุศล สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๗๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้
เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
แต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๗๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๗๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๗๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๗๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรม
ชั้นประณีต สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๘๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์ สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๑. ติกะ
[๓๘๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาว-
ธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมที่มีสภาวะ
ผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ สภาวธรรม
ที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้น สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๘๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจาก
สภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภาย
นอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนและภายนอกตน
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๘๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาว-
ธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
๒. ทุกะ
[๓๘๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีเหตุ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาว-
ธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่
มีเหตุ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่
ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้
สภาวธรรมที่เป็นรูป สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๓๙๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๙๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ สภาวธรรม
ที่เป็นจิต สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็น
สมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อม
กับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๓๙๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทายรูป สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๙๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรม
เหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๓๙๙] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๐] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] ๑๐. วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๔๐๑] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มี
เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๒] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร
สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๓] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่มีวิตก สภาวธรรมที่ไม่มี
วิจาร สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๔๐๔] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๕] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๐. ทสมนัย] รวมทบธรรมที่ไม่ได้ในทสมนัย ๑๒๓ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรม
ที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรม
เหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่
วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๔๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดวิปปยุตจากสภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่
เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรม
ที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ สภาวธรรมเหล่าใด
วิปปยุตจากสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในทสมนัย ๑๒๓ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ทุกขสัจ ๑
ชีวิตินทรีย์ ๑ สฬายตนะ ๑ นามรูป ๑
ภพใหญ่ ๔
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ในติกะ ๑๙ บท ในโคจฉกะ ๕๐ บท
ในจูฬันตรทุกะ ๘ บท
ในมหันตรทุกะ ๑๕ บท ต่อจากนั้นอีก ๑๘ บท (ในปิฏฐิทุกะ)
บทธรรม ๑๒๓ บทนี้ไม่ได้ในทสมนัย
วิปปยุตเตนวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๐ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] ๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๑. เอกาทสมนัย
๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นวิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และ
วิปปยุตจากอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอุเปกขินทรีย์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] ๑๑. สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ
๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะ
เป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมี
ตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับโสกะ ทุกข์ โทมนัส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๑. เอกาทสมนัย] รวมบทธรรมในเอกาทสมนัย ๖๙ บท
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เจตนา อธิโมกข์
มนสิการ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
รวมบทธรรมในเอกาทสมนัย ๖๙ บท
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๕ ปฏิจจสมุปบาท ๑๑ บท
ต่อจากปฏิจจสมุปบาทอีก ๑๑ บท ในโคจฉกะ ๓๐ บท
สังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๑ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
๑๒. ทวาทสมนัย
๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณ-
ธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ มโนวิญญาณธาตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยมนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุเปกขินทรีย์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๑
[๔๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยโสกะ ทุกข์ โทมนัส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยฌาน
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยผัสสะ เจตนา มนสิการ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยเวทนา สัญญา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๐
[๔๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยอธิโมกข์
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๓
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๕
[๔๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี
เพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่
เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
สัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่
เป็นอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] ๑๒. สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทส
[๔๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่
เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและ
เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
[๔๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
และมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐาน
และเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและ
เป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๒. ทวาทสมนัย] รวมบทธรรมในทวาทสมนัย ๑๒๐ บท
[๔๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุต
ด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๒
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และธาตุ ๑๖
[๔๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดสัมปยุตด้วยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และธาตุ ๑๗
รวมบทธรรมในทวาทสมนัย ๑๒๐ บท
อรูปขันธ์ ๔ มนายตนะ ๑ วิญญาณธาตุ ๗
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๔
ปัจจยาการ ๑๒ บท ต่อจากปัจจยาการนั้น ๑๖ บท
ในติกะ ๘ บท ในโคจฉกะ ๔๓ บท
ในมหันตรทุกะ ๗ บท ในปิฏฐิทุกะ ๖ บท
บทธรรมเหล่านี้สงเคราะห์เข้าในนิเทศแห่งบทที่ ๙
สัมปยุตเตนสังคหิตาสังคหิตปทนิทเทสที่ ๑๒ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
๑๓. เตรสมนัย
๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับธัมมายตนะ ธัมมธาตุ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
นามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย อสัญญาภพ เอกโวการภพ
ชาติ ชรา มรณะ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพ อิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
[๔๕๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศล สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมที่
มีปริตตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมชั้นประณีต
สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ
และให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มี
มรรคเป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมที่มีอดีต-
ธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรม
ภายในตนและภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นรูป
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์
ของสังโยชน์ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของคันถะ สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อารมณ์ของโอฆะ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของโยคะ สภาวธรรมที่
ไม่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์ สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
และไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] ๑๓. อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทส
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิต สภาวธรรม
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมที่เป็นภายนอก สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๔๕๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทาน สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็น
อุปาทาน สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทาน สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่
ทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่
เป็นกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๑๓. เตรสมนัย] รวมบทธรรมในเตรสมนัย ๒๒ บท
ที่สหรคตด้วยปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่านั้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
รวมบทธรรมในเตรสมนัย ๒๒ บท
รูป ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑
อิตถินทรีย์ ๑ ปุริสินทรีย์ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ ภพ ๒ (อสัญญีภพและเอกโวการภพ)
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑ บทที่เป็นรูป ๑ อนารัมมณบท ๑
โนจิตตบท ๑ จิตตวิปปยุตตบท ๑
จิตตวิสังสัฏฐบท ๑ จิตตสมุฏฐานบท ๑ จิตตสหภูบท ๑
จิตตานุปริวัตติบท ๑ พาหิรบท ๑ อุปาทาบท ๑
นัย ๒๒ บทนี้เป็นวิสัยแห่งปุจฉาและวิสัชนา
อสังคหิเตนสัมปยุตตวิปปยุตตปทนิทเทสที่ ๑๓ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๑๑๖ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น