Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๓๘-๑ หน้า ๑ - ๕๗

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๘-๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๕ ยมก ภาค ๑



พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ

พระอภิธรรมปิฎก
ยมก ภาค ๑
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

๑. มูลยมก
๑. มูลวารอุทเทส
๑. กุสลบท นยจตุกกะ*
[๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
กุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดเป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๕๐)
[๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล
อย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นกุศลใช่ไหม (๕๑)
[๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นกุศลใช่ไหม (๑) (๕๒)

เชิงอรรถ :
* นยะมี ๔ คือ มูลนยะ มูลมูลนยะ มูลกนยะ มูลมูลกนยะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๓๒๘) ตัวเลข [๑] หมายถึงนยะ
ที่ ๑ ตัวเลข (๕๐) หมายถึงเลขหัวข้อในนิทเทสหน้า ๑๐ เป็นต้นไป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ
[๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล
ที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล
ใช่ไหม (๕๓)
[๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล
ที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๕๔)
[๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๒) (๕๕)
[๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล
ที่เป็นกุศลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล
ใช่ไหม (๕๖)
[๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูล
อย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นกุศลใช่ไหม (๕๗)
[๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นกุศลใช่ไหม (๓) (๕๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล
ใช่ไหม (๕๙)
[๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๖๐)
[๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม (๔) (๖๑)
๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
(๖๒)
[๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๓)
[๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๑) (๖๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อกุศลใช่ไหม (๖๕)
[๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๖)
[๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๒) (๖๗)
[๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นอกุศลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศล
ใช่ไหม (๖๘)
[๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๖๙)
[๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๓) (๗๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะะ
[๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อกุศลใช่ไหม (๗๑)
[๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๗๒)
[๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม (๔) (๗๓)
๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤต
ใช่ไหม (๗๔)
[๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๗๕)
[๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๑) (๗๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะะ
[๒๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อัพยากฤตใช่ไหม (๗๗)
[๒๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๗๘)
[๓๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๒) (๗๙)
[๓๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อัพยากฤตใช่ไหม (๘๐)
[๓๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๘๑)
[๓๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๓) (๘๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
[๓๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อัพยากฤตใช่ไหม (๘๓)
[๓๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๘๔)
[๓๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม (๔) (๘๕)
๔. นามบท นยจตุกกะ
[๓๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดเป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๘๖)
[๓๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๘๗)
[๓๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นนามใช่ไหม (๑) (๘๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารอุทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
[๔๐] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม
ใช่ไหม (๘๙)
[๔๑] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๙๐)
[๔๒] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๒) (๙๑)
[๔๓] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นนามใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
(๙๒)
[๔๔] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นนามใช่ไหม (๙๓)
[๔๕] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นนามใช่ไหม (๓) (๙๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๒-๑๐. เหตุวาราทิอุทเทส
[๔๖] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมี
มูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม
ใช่ไหม (๙๕)
[๔๗] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๙๖)
[๔๘] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม (๔) (๙๗)
มูลวารอุทเทส จบ
๒-๑๐. เหตุวาราทิอุทเทส
[๔๙] สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นกุศลเหตุใช่ไหม ฯลฯ เป็นกุศลนิทาน๑ ฯลฯ เป็นกุศลสมภพ ฯลฯ เป็น
กุศลประภพ ฯลฯ เป็นกุศลสมุฏฐาน ฯลฯ เป็นกุศลอาหาร ฯลฯ เป็นกุศล-
อารมณ์ ฯลฯ เป็นกุศลปัจจัย ฯลฯ เป็นกุศลสมุทัย ฯลฯ (๙๘-๙๙)
มูล เหตุ นิทาน สมภพ ประภพ สมุฏฐาน อาหาร
อารมณ์ ปัจจัย และสมุทัย มีด้วยประการฉะนี้
อุทเทสวาร จบ

เชิงอรรถ :
๑ อภิ.ปญฺจ.อ. ๑/๓๒๙-๓๓๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ
๑. มูลวารนิทเทส
๑. กุสลบท นยจตุกกะ
[๕๐] อนุโลมปุจฉา สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล๑ สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลมูลใช่ไหม
วิสัชนา กุศลมูลมี ๓ เท่านั้น๒ สภาวธรรมที่เหลือเป็นกุศล แต่ไม่เป็นกุศลมูล๓
ปฏิโลมปุจฉา สภาวธรรมเหล่าใดเป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นกุศลใช่ไหม
วิสัชนา ใช่ (๑)
[๕๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐาน๔ มีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล
กุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๒)
[๕๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นเป็นมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง
เดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นมูลอาศัยกันและกัน

เชิงอรรถ :
๑ คือสภาวะที่เป็นกุศลซึ่งไม่มีโทษ มีสุขเป็นผล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐/๓๓๐)
๒ กุศลมูลมี ๓ คือ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ แม้อัพยากตมูลก็เช่นกัน
๓ อีกประการหนึ่ง แปลว่า สภาวธรรมที่เป็นกุศลมีผัสสะเป็นต้นที่เหลือ ชื่อว่าเป็นสภาวธรรม ไม่จัดเป็น
กุศลมูล (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐/๓๓๐)
๔ คือมีกุศลจิตเป็นสมุฏฐาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐/๓๓๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑) (๓)
[๕๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
มีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลที่เป็นกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลที่เหลือไม่เป็นมูล
ที่เป็นกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
กุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔)
[๕๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็น
กุศล กุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๕)
[๕๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน๑กับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียว
กันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่
เหลือ มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน

เชิงอรรถ :
๑ คำว่า เป็นมูลอาศัยกันและกัน หมายถึงเป็นปัจจัยของกันและกันโดยเหตุปัจจัย (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๒-๕๖/
๓๓๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒) (๖)
[๕๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
กุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นกุศล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลที่
เป็นกุศลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๗)
[๕๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล
กุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๘)
[๕๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง
เดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓) (๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๑. กุสลบท นยจตุกกะ
[๕๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นกุศลมูลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
กุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นกุศลมูล แต่ไม่เป็นกุศล กุศลมีมูลที่
เป็นกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๑๐)
[๖๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่เป็น
กุศล กุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูลก็ใช่ เป็นกุศลก็ใช่ (๑๑)
[๖๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง
เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับกุศล
มูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกัน
และกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔) (๑๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๖๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดเป็นอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เหลือเป็นอกุศล แต่ไม่เป็นอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑๓)
[๖๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะ๑ ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศลที่เป็น
สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล
อกุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๔)
[๖๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่างเดียว
กันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑) (๑๕)

เชิงอรรถ :
๑ อกุศลที่เป็นอเหตุกะ คือโมหะที่สัมปยุตกับวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๖๒-๗๓/๓๓๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๖๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลที่เป็นอกุศลมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เหลือเป็นอกุศล แต่ไม่
ใช่มีมูลที่เป็นอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑๖)
[๖๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศล
ที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่
เป็นอกุศล อกุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๗)
[๖๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับ
อกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล
ใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง
เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศล
มูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกัน
และกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒) (๑๘)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๖๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอกุศล อกุศลที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่
เป็นอกุศล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นอกุศล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศลมี
มูลที่เป็นอกุศลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๑๙)
[๖๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศลที่เป็น
สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล
อกุศลมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๒๐)
[๗๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอกุศลมูลที่เหลือมีมูลอย่าง
เดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓) (๒๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๒. อกุสลบท นยจตุกกะ
[๗๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอกุศลมูล อกุศลที่เป็นสเหตุกะมี
มูลที่เป็นอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอกุศลมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นอกุศลมูล แต่ไม่เป็นอกุศล อกุศล
มีมูลที่เป็นอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่ (๒๒)
[๗๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. อกุศลที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล อกุศล
ที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. รูปที่มีอกุศลเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่
ไม่เป็นอกุศล อกุศลมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูลก็ใช่ เป็นอกุศลก็ใช่
[๗๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศล-
มูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอกุศลมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง
เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ
อกุศลมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอกุศลมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูล
อาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอกุศลมูล สภาว-
ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอกุศลใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔) (๒๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๗๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต๑ สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากตมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตที่เหลือไม่เป็น
อัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
อัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒๕)
[๗๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะ๒ ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒๖)
[๗๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกัน
ก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอัพยากตมูลที่เหลือมี
มูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑) (๒๗)

เชิงอรรถ :
๑ สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต ได้แก่ วิปากจิต กิริยาจิตพร้อมทั้งเจตสิกที่ประกอบ รูป และนิพพาน
๒ อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะ ได้แก่ จิตตุปบาท ๑๘ รูป และนิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๗๔-๘๕/๓๓๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๗๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. มูลที่เป็นอัพยากตมูลมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตที่เหลือ
ไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒๘)
[๗๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒๙)
[๗๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยา-
กตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล
ใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง
เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ
อัพยากตมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็น
มูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒) (๓๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๓. อัพยากตบท นยจตุกกะ
[๘๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากฤต อัพยากฤตที่เป็น
สเหตุกะมีมูลที่เป็นอัพยากฤต
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓๑)
[๘๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓๒)
[๘๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกัน
ก็ใช่ มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับอัพยากตมูลที่เหลือมี
มูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓) (๓๓)
[๘๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นอัพยากตมูล อัพยากฤตที่เป็น
สเหตุกะมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นอัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓๔)
[๘๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. อัพยากฤตที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
อัพยากฤตที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล สภาว-
ธรรม เหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓๕)
[๘๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับ
อัพยากตมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับ
อัพยากตมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นอัพยากตมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่าง
เดียวกันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับ
อัพยากตมูลที่เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับอัพยากตมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่
เป็นมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับอัพยากตมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นอัพยากฤตใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔) (๓๖)
๔. นามบท นยจตุกกะ
[๘๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม๑ สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นนามมูลใช่ไหม
วิ. นามมูล๒มี ๙ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นนามที่เหลือไม่เป็นนามมูล

เชิงอรรถ :
๑ สภาวธรรมที่เป็นนาม ในที่นี้หมายถึงอรูปขันธ์ ๔ และนิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒)
๒ นามมูล คือ กุศลมูล ๓ อกุศลมูล ๓ อัพยากตมูล ๓ รวมเป็น ๙ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดเป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นนาม
ใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓๗)
[๘๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะ๑ไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่เป็น
สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่เป็นนาม
นามมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๓๘)
[๘๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน นามเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่เหลือมีมูลอย่าง
เดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. ใช่ (๑) (๓๙)
[๘๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม
วิ. มูลที่เป็นนามมูลมี ๙ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นนามที่เหลือ ไม่ใช่มีมูล
ที่เป็นนามมูล

เชิงอรรถ :
๑ นามที่เป็นอเหตุกะ ในที่นี้หมายถึงจิตตุปบาท ๑๘ โมหะที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉา อุทธัจจะ และ
นิพพาน (อภิ.ปญฺจ.อ. ๘๖-๙๗/๓๓๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
นามใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔๐)
[๙๐] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่
เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลแต่ไม่เป็น
นาม นามมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๑)
[๙๑] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกัน
ก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่
เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. ใช่ (๒) (๔๒)
[๙๒] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นนามใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นนาม นามที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นนาม
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็น
นามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นนามแต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลที่เป็น
นามก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๑. มูลวารนิทเทส ๔. นามบท นยจตุกกะ
[๙๓] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้ง
หมดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่เป็น
สเหตุกะมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่เป็นนาม
นามมีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๔)
[๙๔] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มีมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลอย่างเดียวกันก็ใช่
มีมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่เหลือมีมูลอย่างเดียว
กันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรมเหล่า
นั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. ใช่ (๓) (๔๕)
[๙๕] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นนามมูลใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะไม่ใช่มีมูลที่เป็นนามมูล นามที่เป็นสเหตุกะมีมูลที่
เป็นนามมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นนามมูล สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นนามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นนามมูล แต่ไม่เป็นนาม นามมีมูลที่
เป็นนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส
[๙๖] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. นามที่เป็นอเหตุกะ ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล นามที่
เป็นสเหตุกะมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. รูปที่มีนามเป็นสมุฏฐานมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่
เป็นนาม นามมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูลก็ใช่ เป็นนามก็ใช่ (๔๗)
[๙๗] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล
สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูลใช่ไหม
วิ. มูลเหล่าใดเป็นนามมูลเกิดร่วมกัน มูลเหล่านั้นมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียว
กันก็ใช่ มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันก็ใช่ สภาวธรรมที่เกิดร่วมกันกับนามมูลที่
เหลือมีมูลที่เป็นมูลอย่างเดียวกันกับนามมูล แต่ไม่ใช่มีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกัน
ปฏิ. สภาวธรรมเหล่าใดมีมูลที่เป็นมูลอาศัยกันและกันกับนามมูล สภาวธรรม
เหล่านั้นทั้งหมดเป็นนามใช่ไหม
วิ. ใช่ (๔) (๔๘)
มูลวารนิทเทส จบ
๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส
[๙๘] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นกุศล สภาวธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมดเป็นกุศลเหตุใช่ไหม
วิ. กุศลเหตุมี ๓ เท่านั้น สภาวธรรมที่เป็นกุศลที่เหลือไม่เป็นกุศลเหตุ
ฯลฯ ไม่เป็นกุศลนิทาน ฯลฯ ไม่เป็นกุศลสมภพ ฯลฯ ไม่เป็นกุศลประภพ ฯลฯ
ไม่เป็นกุศลสมุฏฐาน ฯลฯ ไม่เป็นกุศลอาหาร ฯลฯ ไม่เป็นกุศลอารมณ์ ฯลฯ
ไม่เป็นกุศลปัจจัย ฯลฯ ไม่เป็นกุศลสมุทัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๑. มูลยมก] ๒-๑๐. เหตุวาราทินิทเทส
[๙๙] อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอกุศล ฯลฯ
อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นอัพยากฤต ฯลฯ
อนุ. สภาวธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่งที่เป็นนาม สภาวธรรมเหล่านั้นทั้งหมด
เป็นนามเหตุ ฯลฯ เป็นนามนิทาน ฯลฯ เป็นนามสมภพ ฯลฯ เป็นนามประภพ
ฯลฯ เป็นนามสมุฏฐาน ฯลฯ เป็นนามอาหาร ฯลฯ เป็นนามอารมณ์ ฯลฯ
เป็นนามปัจจัย ฯลฯ เป็นนามสมุทัย
มูล เหตุ นิทาน สมภพ ประภพ สมุฏฐาน อาหาร
อารมณ์ ปัจจัย และสมุทัย มีด้วยประการฉะนี้
นิทเทสวาร จบ
มูลยมก จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส
ขันธยมก
๑. ปัณณัตติวารอุทเทส
[๑] ขันธ์ ๕ คือ

๑. รูปขันธ์ (กองรูป) ๒. เวทนาขันธ์ (กองเวทนา)
๓. สัญญาขันธ์ (กองสัญญา) ๔. สังขารขันธ์ (กองสังขาร)
๕. วิญญาณขันธ์ (กองวิญญาณ)

๑. ปทโสธนวาร
อนุโลม

[๒] รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม รูปขันธ์ เป็นรูปใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม เวทนาขันธ์ เป็นเวทนาใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม สัญญาขันธ์ เป็นสัญญาใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม สังขารขันธ์ เป็นสังขารใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม วิญญาณขันธ์ เป็นวิญญาณใช่ไหม (๒๖)

ปัจจนีกะ

[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปขันธ์ ไม่เป็นรูปใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนาขันธ์ ไม่เป็นเวทนาใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ ไม่เป็นสัญญาใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขารขันธ์ ไม่เป็นสังขารใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณใช่ไหม (๒๗)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
อนุโลม

[๔] รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๒๘)


[๕] เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๒๙)
[๖] สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๐)
[๗] สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๑)


[๘] วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม (๓๒)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
ปัจจนีกะ

[๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๓)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๔)
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๕)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๓. สุทธขันธวาร

[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๖)


[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม (๓๗)

๓. สุทธขันธวาร
อนุโลม

[๑๔] รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปใช่ไหม
เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาใช่ไหม
สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาใช่ไหม
สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารใช่ไหม
วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณใช่ไหม (๓๘)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
ปัจจนีกะ

[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณใช่ไหม (๓๙)

๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุโลม

[๑๖] รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๔๐)


[๑๗] เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๔๑)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร

[๑๘] สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๔๒)
[๑๙] สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๔๓)


[๒๐] วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม (๔๔)

ปัจจนีกะ

[๒๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๔๕)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารอุทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๔)
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๕)
[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม (๓๖)
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม (๓๗)

ปัณณัตติวารอุทเทส จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๑. ปทโสธนวาร
๑. ปัณณัตติวารนิทเทส
๑. ปทโสธนวาร
อนุโลม
[๒๖] อนุ. รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป เป็นรูป แต่ไม่เป็นรูปขันธ์ รูปขันธ์ เป็นรูปก็ใช่ เป็น
รูปขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. รูปขันธ์ เป็นรูปใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. เวทนาขันธ์ เป็นเวทนาใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา เป็นสัญญา แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ สัญญาขันธ์ เป็นสัญญา
ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สัญญาขันธ์ เป็นสัญญาใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือเป็นสังขาร แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
สังขารขันธ์ เป็นสังขารก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สังขารขันธ์ เป็นสังขารใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. วิญญาณขันธ์ เป็นวิญญาณใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๑. ปทโสธนวาร
ปัจจนีกะ
[๒๗] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปขันธ์ ไม่เป็นรูปใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ แต่เป็นรูป เว้นรูปและรูปขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นรูปขันธ์ก็ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนาขันธ์ ไม่เป็นเวทนาใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ ไม่เป็นสัญญาใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ แต่เป็นสัญญา เว้นสัญญาและ
สัญญาขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขารขันธ์ ไม่เป็นสังขารใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือไม่เป็นสังขารขันธ์ แต่เป็นสังขาร
เว้นสังขารและสังขารขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสังขารก็ใช่ ไม่เป็นสังขาร-
ขันธ์ก็ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
อนุโลม
[๒๘] อนุ. รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป เป็นรูป แต่ไม่เป็นรูปขันธ์ รูปขันธ์ เป็นรูปก็ใช่ เป็น
รูปขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป เป็นรูป แต่ไม่เป็นรูปขันธ์ รูปขันธ์ เป็นรูปก็ใช่ เป็น
รูปขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป เป็นรูป แต่ไม่เป็นรูปขันธ์ รูปขันธ์ เป็นรูปก็ใช่ เป็น
รูปขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. รูป เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ปิยรูป สาตรูป เป็นรูป แต่ไม่เป็นรูปขันธ์ รูปขันธ์ เป็นรูปก็ใช่ เป็น
รูปขันธ์ก็ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์
[๒๙] อนุ. เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
[๓๐] อนุ. สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา เป็นสัญญา แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ สัญญาขันธ์ เป็นสัญญา
ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา เป็นสัญญา แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ สัญญาขันธ์ เป็นสัญญา
ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา เป็นสัญญา แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ สัญญาขันธ์ เป็นสัญญา
ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ทิฏฐิสัญญา เป็นสัญญา แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์ สัญญาขันธ์ เป็นสัญญา
ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
[๓๑] อนุ. สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือเป็นสังขาร แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
สังขารขันธ์ เป็นสังขารก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือเป็นสังขาร แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
สังขารขันธ์ เป็นสังขารก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือเป็นสังขาร แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
สังขารขันธ์ เป็นสังขารก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารขันธ์แล้ว สังขารที่เหลือเป็นสังขาร แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
สังขารขันธ์ เป็นสังขารก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
[๓๒] อนุ. วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
ปัจจนีกะ
[๓๓] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๓๔] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๓๕] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๓๖] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๒. ปทโสธนมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๓๗] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๓. สุทธขันธวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
๓. สุทธขันธวาร
อนุโลม
[๓๘] อนุ. รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๓. สุทธขันธวาร
อนุ. สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์
ปัจจนีกะ
[๓๙] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นรูปแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นรูป แต่เป็นขันธ์ เว้นรูปและขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่๑
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นเวทนาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นเวทนา แต่เป็นขันธ์ เว้นเวทนาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นเวทนาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

เชิงอรรถ :
๑ สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ คือ นิพพาน และบัญญัติที่พ้นจากขันธ์ ๕ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๓๙/๓๓๗)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสัญญาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสัญญา แต่เป็นขันธ์ เว้นสัญญาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสังขารแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสังขาร แต่เป็นขันธ์ เว้นสังขารและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสังขารก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นวิญญาณแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นวิญญาณ แต่เป็นขันธ์ เว้น
วิญญาณและขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นวิญญาณก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุโลม
[๔๐] อนุ. รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. รูป เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์
[๔๑] อนุ. เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
อนุ. เวทนา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์
[๔๒] อนุ. สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. สัญญา เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์
[๔๓] อนุ. สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่
เป็นรูปขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. สังขาร เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. วิญญาณขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นวิญญาณขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นวิญญาณขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
[๔๔] อนุ. วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. รูปขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นรูปขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์ แต่ไม่เป็น
รูปขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. เวทนาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นเวทนาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นเวทนาขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. สัญญาขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสัญญาขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสัญญาขันธ์
อนุ. วิญญาณ เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. ขันธ์ เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. สังขารขันธ์ เป็นขันธ์ก็ใช่ เป็นสังขารขันธ์ก็ใช่ ขันธ์ที่เหลือเป็นขันธ์
แต่ไม่เป็นสังขารขันธ์
ปัจจนีกะ
[๔๕] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นรูปแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นรูป แต่เป็นขันธ์ เว้นรูปและขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นรูปแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นรูป แต่เป็นขันธ์ เว้นรูปและขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นรูปแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นรูป แต่เป็นขันธ์ เว้นรูปและขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นรูปแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นรูป แต่เป็นขันธ์ เว้นรูปและขันธ์แล้ว
สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นรูปก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๔๖] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นเวทนาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นเวทนา แต่เป็นขันธ์ เว้นเวทนาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นเวทนาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นเวทนาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นเวทนา แต่เป็นขันธ์ เว้นเวทนาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นเวทนาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นเวทนาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นเวทนา แต่เป็นขันธ์ เว้นเวทนาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นเวทนาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นเวทนา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นเวทนาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นเวทนา แต่เป็นขันธ์ เว้นเวทนาและ
ขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นเวทนาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๔๗] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสัญญาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสัญญา แต่เป็นขันธ์ เว้นสัญญา
และขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสัญญาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสัญญา แต่เป็นขันธ์ เว้นสัญญา
และขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสัญญาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสัญญา แต่เป็นขันธ์ เว้นสัญญา
และขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสัญญา ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นสัญญาแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นสัญญา แต่เป็นขันธ์ เว้นสัญญา
และขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นสัญญาก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
[๔๘] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นสังขาร ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นวิญญาณขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๑. ปัณณัตติวารนิทเทส ๔. สุทธขันธมูลจักกวาร
[๔๙] อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นวิญญาณแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นวิญญาณ แต่เป็นขันธ์ เว้น
วิญญาณและขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นวิญญาณก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นรูปขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นวิญญาณแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นวิญญาณ แต่เป็นขันธ์ เว้น
วิญญาณและขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นวิญญาณก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นเวทนาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นวิญญาณแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นวิญญาณ แต่เป็นขันธ์ เว้น
วิญญาณและขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นวิญญาณก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสัญญาขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
อนุ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิญญาณ ไม่เป็นขันธ์ใช่ไหม
วิ. เว้นวิญญาณแล้ว ขันธ์ที่เหลือไม่เป็นวิญญาณ แต่เป็นขันธ์ เว้น
วิญญาณและขันธ์แล้ว สภาวธรรมที่เหลือไม่เป็นวิญญาณก็ใช่ ไม่เป็นขันธ์ก็ใช่
ปฏิ. สภาวธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ ไม่เป็นสังขารขันธ์ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปัณณัตติวารนิทเทส จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๒. ปวัตติวาร ๑. อุปปาทวาร ๑. ปัจจุปปันนวาร
๒. ปวัตติวาร ๑. อุปปาทวาร
๑. ปัจจุปปันนวาร
ว่าด้วยสภาวธรรมที่เป็นปัจจุบัน
อนุโลมบุคคล
[๕๐] อนุ. รูปขันธ์ของบุคคลใดกำลังเกิด เวทนาขันธ์ของบุคคลนั้นก็กำลังเกิด
ใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอสัญญสัตตภูมิ๑ รูปขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นกำลังเกิด
แต่เวทนาขันธ์ไม่ใช่กำลังเกิด บุคคลผู้กำลังอุบัติในปัญจโวการภูมิ๒ รูปขันธ์
ของบุคคลเหล่านั้นกำลังเกิดและเวทนาขันธ์ก็กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ของบุคคลใดกำลังเกิด รูปขันธ์ของบุคคลนั้นก็กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอรูปภูมิ๓ เวทนาขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นกำลังเกิด
แต่รูปขันธ์ไม่ใช่กำลังเกิด บุคคลผู้กำลังอุบัติในปัญจโวการภูมิ เวทนาขันธ์ของ
บุคคลเหล่านั้นกำลังเกิดและรูปขันธ์ก็กำลังเกิด
อนุโลมโอกาส
[๕๑] อนุ. รูปขันธ์ในภูมิใดกำลังเกิด เวทนาขันธ์ในภูมินั้นก็กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. ในอสัญญสัตตภูมิ ในภูมินั้นรูปขันธ์กำลังเกิด แต่เวทนาขันธ์ไม่ใช่กำลัง
เกิด ในปัญจโวการภูมิ ในภูมินั้นรูปขันธ์กำลังเกิดและเวทนาขันธ์ก็กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ในภูมิใดกำลังเกิด รูปขันธ์ในภูมินั้นก็กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. ในอรูปภูมิ ในภูมินั้นเวทนาขันธ์กำลังเกิด แต่รูปขันธ์ไม่ใช่กำลังเกิด
ในปัญจโวการภูมิ ในภูมินั้นเวทนาขันธ์กำลังเกิดและรูปขันธ์ก็กำลังเกิด

เชิงอรรถ :
๑ ภูมิของสัตว์ผู้ไม่มีสัญญา คือเกิดโดยที่ไม่มีจิต มีแต่รูปอย่างเดียว เรียกอีกอย่างว่า เอกโวการภูมิ คือ
ภูมิของสัตว์ผู้มีขันธ์ ๑ คือรูปขันธ์ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐-๒๐๕/๓๔๔)
๒ ภูมิของสัตว์ผู้มีขันธ์ ๕ คือเกิดโดยมีทั้งรูปและนาม (อภิ.ปญฺจ.อ. ๕๐-๒๐๕/๓๔๔)
๓ ภูมิของสัตว์ผู้ไม่มีรูป คือไม่มีรูปขันธ์ มีเพียงนามขันธ์ ๔ เว้นรูปขันธ์ หรือเรียกว่า จตุโวการภูมิ ภูมิ
ของสัตว์ผู้มีขันธ์ ๔

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๒. ปวัตติวาร ๑. อุปปาทวาร ๒. อดีตวาร
อนุโลมปุคคโลกาส
[๕๒] อนุ. รูปขันธ์ของบุคคลใดในภูมิใดกำลังเกิด เวทนาขันธ์ของบุคคลนั้น
ในภูมินั้นก็กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอสัญญสัตตภูมิ รูปขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น
กำลังเกิด แต่เวทนาขันธ์ไม่ใช่กำลังเกิด บุคคลผู้กำลังอุบัติในปัญจโวการภูมิ รูปขันธ์
ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้นกำลังเกิดและเวทนาขันธ์ก็กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ของบุคคลใดในภูมิใดกำลังเกิด รูปขันธ์ของบุคคลนั้นในภูมินั้น
ก็กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอรูปภูมิ เวทนาขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น
กำลังเกิด แต่รูปขันธ์ไม่ใช่กำลังเกิด บุคคลผู้กำลังอุบัติในปัญจโวการภูมิ เวทนาขันธ์
ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้นกำลังเกิดและรูปขันธ์ก็กำลังเกิด
ปัจจนีกบุคคล
[๕๓] อนุ. รูปขันธ์ของบุคคลใดไม่ใช่กำลังเกิด เวทนาขันธ์ของบุคคลนั้นก็
ไม่ใช่กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอรูปภูมิ รูปขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นไม่ใช่กำลังเกิด
แต่เวทนาขันธ์มิใช่ไม่กำลังเกิด บุคคลทั้งหมดผู้กำลังจุติ รูปขันธ์ของบุคคลเหล่านั้น
ไม่ใช่กำลังเกิดและเวทนาขันธ์ก็ไม่ใช่กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ของบุคคลใดไม่ใช่กำลังเกิด รูปขันธ์ของบุคคลนั้นก็ไม่ใช่
กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอสัญญสัตตภูมิ เวทนาขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นไม่
ใช่กำลังเกิด แต่รูปขันธ์มิใช่ไม่กำลังเกิด บุคคลทั้งหมดผู้กำลังจุติ เวทนาขันธ์ของ
บุคคลเหล่านั้นไม่ใช่กำลังเกิดและรูปขันธ์ก็ไม่ใช่กำลังเกิด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ยมก [๒. ขันธยมก] ๒. ปวัตติวาร ๑. อุปปาทวาร ๒. อดีตวาร
ปัจจนีกโอกาส
[๕๔] อนุ. รูปขันธ์ในภูมิใดไม่ใช่กำลังเกิด เวทนาขันธ์ในภูมินั้นก็ไม่ใช่กำลัง
เกิดใช่ไหม
วิ. กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ในภูมิใดไม่ใช่กำลังเกิด รูปขันธ์ในภูมินั้นก็ไม่ใช่กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. กำลังเกิด
ปัจจนีกปุคคโลกาส
[๕๕] อนุ. รูปขันธ์ของบุคคลใดในภูมิใดไม่ใช่กำลังเกิด เวทนาขันธ์ของบุคคล
นั้นในภูมินั้นก็ไม่ใช่กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอรูปภูมิ รูปขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้นไม่ใช่กำลัง
เกิด แต่เวทนาขันธ์มิใช่ไม่กำลังเกิด บุคคลทั้งหมดผู้กำลังจุติ รูปขันธ์ของบุคคล
เหล่านั้นในภูมินั้นไม่ใช่กำลังเกิดและเวทนาขันธ์ก็ไม่ใช่กำลังเกิด
ปฏิ. เวทนาขันธ์ของบุคคลใดในภูมิใดไม่ใช่กำลังเกิด รูปขันธ์ของบุคคลนั้น
ในภูมินั้นก็ไม่ใช่กำลังเกิดใช่ไหม
วิ. บุคคลผู้กำลังอุบัติในอสัญญสัตตภูมิ เวทนาขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นใน
ภูมินั้นไม่ใช่กำลังเกิด แต่รูปขันธ์มิใช่ไม่กำลังเกิด บุคคลทั้งหมดผู้กำลังจุติ เวทนา-
ขันธ์ของบุคคลเหล่านั้นในภูมินั้นไม่ใช่กำลังเกิดและรูปขันธ์ก็ไม่ใช่กำลังเกิด
๒. อตีตวาร
ว่าด้วยสภาวธรรมที่เป็นอดีต
อนุโลมบุคคล
[๕๖] อนุ. รูปขันธ์ของบุคคลใดเคยเกิด เวทนาขันธ์ของบุคคลนั้นก็เคยเกิด
ใช่ไหม
วิ. ใช่
ปฏิ. เวทนาขันธ์ของบุคคลใดเคยเกิด รูปขันธ์ของบุคคลนั้นก็เคยเกิดใช่ไหม
วิ. ใช่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๘ หน้า :๕๗ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น