Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๐-๑๒ หน้า ๖๖๗ - ๗๒๖

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐-๑๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๗ ปัฏฐาน ภาค ๑



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว กลับมีวิปฏิสาร โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อ
ฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเสื่อมแล้ว กลับมีวิปฏิสาร โทมนัสจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาจึง
เกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากมรรค
ออกจากผลแล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลมีจิตสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากมรรค ออกจากผล แล้วพิจารณา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ยินดี
เพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
[๔๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
[๔๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เพราะ
ทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมี
จิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออก
จากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากมรรค ออกจากผล แล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่โคตรภูโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดย
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัย
แก่อุปปัตติจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย กายวิญญาณที่สหรคตด้วย
สุขเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก
ซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
โดยอนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๔๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์เป็นปัจจัย
แก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่
โคตรภูที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็น
ปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่าน
ผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตร-
ปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็น
ปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่
มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดย
อนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัย แก่
ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาต-
ปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย (๑)
[๕๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย
(ไม่มีปฏิสนธิที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา) (๑)
[๕๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑
โดยสหชาตปัจจัย (๑)
อัญญมัญญปัจจัยและนิสสยปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอัญญมัญญปัจจัยเป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (อัญญมัญญปัจจัย
และนิสสยปัจจัยเหมือนสหชาตปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาอาศัยศรัทธาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้วจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น (ทำอภิญญา
ให้เกิดขึ้น) ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนา ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข จึงให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น (ในศีล สุตะ จาคะ และปัญญาซึ่งมี
ศรัทธาเป็นที่ ๕ พึงเพิ่มคำว่า มีมานะ ถือทิฏฐิ เข้าด้วย ในหมวดธรรมที่เหลือ
ไม่ต้องเพิ่มเข้า) บุคคลมีจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด
พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว ดักจี้ที่
ทางเปลี่ยว ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ
... ความปรารถนา ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคล
อาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มี
การ แสวงหาเป็นมูลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
ทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยราคะที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข จึงฆ่าสัตว์ มีจิตสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ลักทรัพย์
พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้น
เรือนหลังเดียว ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ฆ่า
มารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ มีจิตประทุษร้ายทำพระโลหิตของพระตถาคต
ให้ห้อ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ...
ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ...
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่โทสะ ... โมหะ ... กายวิญญาณที่
สหรคตด้วยทุกข์และขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาอาศัย
ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้วจึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌาน
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น
ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิอาศัยศีลที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ...
ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข จึงให้ทานด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ลักทรัพย์ มีจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ
ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน
ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... กายวิญญาณ
ที่สหรคตด้วยสุข และขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ






{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยโทสะ จึงฆ่าสัตว์ มีจิตที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโมหะ ... กายวิญญาณที่
สหรคตด้วยทุกข์ จึงฆ่าสัตว์ มีจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ โทสะ ... โมหะ ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์เป็นปัจจัยแก่โทสะ
... โมหะ ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์ ... ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยโทสะ
มีจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีจิตสัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน อาศัยโมหะ ... กายวิญญาณที่
สหรคตด้วยทุกข์ มีจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
โทสะ ... โมหะ ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ฯลฯ กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข ... ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยโทสะ มีจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
จึงให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม อาศัยโมหะ ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์
มีจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม โทสะ ... โมหะ ...
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยทุกข์เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ฯลฯ ความปรารถนา ... ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
มีจิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา มีจิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ
ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีจิตสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ ฆ่าชาว
นิคม ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ความปรารถนา และขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
มีจิตสัมปยุตด้วยสุขเวทนา จึงให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ความปรารถนา มีจิตสัมปยุตด้วยสุขเวทนา จึงให้ทาน
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีจิตสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ ฆ่าชาว
นิคม ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ความปรารถนา และ
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ
ความปรารถนา ... กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข ... ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาจึง
ทำตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยศีลที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ มีจิตสัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่โทสะ ... โมหะ ... กายวิญญาณที่สหรคต
ด้วยทุกข์ ... ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
โดยกัมมปัจจัย (๓)
[๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนาโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
โดยกัมมปัจจัย (๒)
[๕๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
นานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนา
โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
โดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดย
วิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่ง
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย
สัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๖๒] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
เหตุสภาคนัย
[๖๓] อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
สามัญญฆฏนา (๒)
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ
สอินทรียมัคคฆฏนา (๒)
[๖๔] ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
สาธิปติอินทรียมัคคฆฏนา (๒)
[๖๕] ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณสภาคนัย
[๖๖] อธิปติปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
อารัมมณฆฏนา (๑)
[๖๗] ปัจจัย ๓ คือ อารัมมณะ อธิปติ และอุปนิสสยะ มี ๔ วาระ
อธิปติสภาคนัย
[๖๘] เหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)
อธิปติฆฏนา (๙)
[๖๙] ปัจจัย ๓ คือ อธิปติ อารัมมณะ และอุปนิสสยะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
อนันตรสภาคนัย
[๗๐] สมนันตรปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)
ฆฏนา (๓)
[๗๑] ปัจจัย ๕ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๒ วาระ
... กับสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
สภาคนัยมีสหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗๒] เหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย และ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ (๑๓)
ฆฏนา (๒)
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยสภาคนัย
[๗๓] อารัมมณปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๘ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๘)
ฆฏนา (๕)
[๗๔] ปัจจัย ๓ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ และอธิปติ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ นัตถิ และวิคตะ มี ๗
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๒ คือ อุปนิสสยะ และกัมมะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๒ วาระ
อาเสวนสภาคนัย
[๗๕] อนันตรปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฆฏนา (๑)
ปัจจัย ๖ คือ อาเสวนะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
กัมมสภาคนัย
[๗๖] อนันตรปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)
ฆฏนา (๔)
ปัจจัย ๒ คือ กัมมะ และอุปนิสสยะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และอวิคตะ
มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากสภาคนัย
[๗๗] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ
ฌานปัจจัย " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)
ฆฏนา (๑)
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
อาหารสภาคนัย
[๗๘] อธิปติปัจจัย กับอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๐)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฆฏนา (๘)
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
อินทรียสภาคนัย
[๗๙] เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๒)
ฆฏนา (๑๖)
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ฌานสภาคนัย
[๘๐] สหชาตปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๙)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฆฏนา (๖)
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
มัคคสภาคนัย
[๘๑] เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฆฏนา (๑๔)
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
สัมปยุตตสภาคนัย
[๘๒] เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)
ฆฏนา (๒)
ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
(... กับอัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย อวิคตปัจจัย ฯลฯ)
อนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัญหาวาร - ปัจจนียุทธาร
[๘๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๘๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๘๗] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย " " มี ๘ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย " " มี ๙ วาระ ฯลฯ
เอกวีสกนัย
โนอวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปาก-
ปัจจัย และนอาหารปัจจัย ฯลฯ มี ๘ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
(ผู้รู้พึงนับให้เป็นมูลกนัยทั้งหมด เหมือนการนับจำนวนปัจจนียะแห่งกุสลติกะ)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุสภาคนัย
[๘๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
สามัญญฆฏนา
[๘๙] นอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
(พึงนับเหมือนการนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะแห่งกุสลติกะที่ท่านได้นับไว้ตามแนว
แห่งการสาธยาย)
นเหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๘ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๘ วาระ (ย่อ)
การนับอนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๙๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย " " มี ๗ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " " มี ๓ วาระ ฯลฯ
ฉักกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
และนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย (ย่อปัจจัยที่เป็นมูล) และ
นนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ ฯลฯ
จตุวีสกนัย (สอุปนิสสยะ)
กัมมปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปาก-
ปัจจัย นอาหารปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคค-
ปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย
โนนัตถิปัจจัย โนวิคตปัจจัย และโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
จตุวีสกนัย (สกัมมะ)
อุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเร-
ชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย
ฯลฯ โนวิคตปัจจัย และโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
นอารัมมณทุกนัย
[๙๑] เหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
กัมมปัจจัย " มี ๘ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
โนอวิคตทุกนัย
[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๘ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ ฯลฯ
จตุกกนัย
อนันตรปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๘ วาระ
นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ ฯลฯ
จตุวีสกนัย (สอุปนิสสยะ)
กัมมปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญ-
มัญญปัจจัย นนิสสยปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหาร-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๖๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๒. เวทนาติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตต-
ปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย โนนัตถิปัจจัย และ
โนวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
จตุวีสกนัย (สกัมมะ)
อุปนิสสยปัจจัย กับโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเรชาต-
ปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
(พึงนับเวทนาติกะนี้ เหมือนการนับจำนวนปัจจนียานุโลมแห่งกุสลติกะที่ได้นับไว้แล้ว
ตามแนวทางแห่งการสาธยาย)
ปัจจนียานุโลม จบ
เวทนาติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป
๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่
เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
[๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
[๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
[๙] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่
เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อธิปติปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๓)
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย
มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น
[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอนันตร-
ปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย) เพราะสหชาตปัจจัย
(สหชาตปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัยทั้งหมด)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
(สหชาตปัจจัยมีข้อต่างกันเท่านี้)
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญ-
มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์
๒ เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น
เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนิสสย-
ปัจจัย (ย่อ) เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
อาเสวนปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
กัมมปัจจัยและวิปากปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะกัมม-
ปัจจัย (ย่อ) เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น
เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... เกิดขึ้นเพราะ
วิปากปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... เกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอาหาร-
ปัจจัย (ย่อ) เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๐] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุทุกนัย
[๒๑] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ ฯลฯ
(พึงนับเหมือนการนับกุสลติกะ)
อาเสวนทุกนัย
[๒๒] เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๒ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๒ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
วิปากทุกนัย
[๒๓] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ (ย่อ)
การนับอนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นวิบากเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๓)
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
จิตตสมุฏฐานรูปและกฎัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฎัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฎัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก
ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่
เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๑)
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๑)
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น มหา-
ภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฎัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฎัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย (ย่อ) (นอธิปติปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัยที่เป็นฝ่ายอนุโลม)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะ
นอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกัน) เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ)
นปุเรชาตปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบาก ...
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ)(๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก
ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก
และที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนปัจฉา-
ชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย (ย่อ)
นกัมมปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด
วิบากเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นวิปากปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ...ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอาหารปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น
นอินทรียปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นฌานปัจจัย
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนฌาน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคค-
ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบาก ... มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุ ... มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปวาจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจัย (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๙] นเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๕๐] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๐ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " ม ี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๒ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย " " มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " " มี ๓ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสัมปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " " มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย " " มี ๓ วาระ (ย่อ)
นเหตุมูลกนัย จบ
(แม้ในวิปากติกะนี้ก็พึงนับเหมือนที่นับไว้แล้วในกุสลติกะตามแนวแห่งการสาธยาย)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
จตุกกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย และอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย
(ย่อปัจจัยที่เป็นมูล) และปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ)
(พึงนับเหมือนการนับอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ
ติกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " " มี ๒ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " " มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย " " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " " มี ๓ วาระ ฯลฯ
สัตตกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
(พึงนับเหมือนนเหตุมูลกนัยในกุสลติกะ ข้อความนี้พึงให้พิสดารเหมือนปัจจนียานุโลม
ในกุสลติกะ)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๓. วิปากติกะ ๒. สหชาตวาร
๓. วิปากติกะ ๒. สหชาตวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดร่วมกับสภาวธรรมที่เป็นวิบากเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ขันธ์ ๑ เกิดร่วมกับขันธ์ ๓
ขันธ์ ๒ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๕๔] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฯลฯ
๒. ปัจจยปัจจนียะ
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดร่วมกับสภาวธรรมที่เป็นวิบากเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งเป็นวิบาก ขันธ์ ๑
เกิดร่วมกับขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ (ย่อ)
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๕๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ ฯลฯ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๕๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๐ วาระ ฯลฯ
สหชาตวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๗๒๖ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น