Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๑ หน้า ๑ - ๕๓

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

๑. เหตุโคจฉกะ
๑. เหตุทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ อโทสะ อโมหะอาศัยอโลภะเกิดขึ้น อโลภะ อโมหะอาศัยอโทสะเกิดขึ้น อโลภะ
อโทสะอาศัยอโมหะเกิดขึ้น โมหะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โลภะอาศัยโมหะเกิดขึ้น โมหะ
อาศัยโทสะเกิดขึ้น โทสะอาศัยโมหะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ อโทสะ อโมหะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอโลภะ
เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) โมหะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เหตุและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เหตุและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ เหตุและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อโทสะ อโมหะอาศัยอโลภะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึง
ผูกเป็นจักกนัย) โมหะอาศัยโลภะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น โมหะอาศัยโทสะและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อโทสะ อโมหะอาศัยอโลภะ
และหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุ
และอาศัยเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ และ
เหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
และเหตุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็น
เหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อโทสะ อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอาศัยอโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อโทสะ อโมหะ
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ และอโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) ขันธ์ ๓
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุและอโลภะเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย (เว้นรูปเสียแล้ว อรูปเท่านั้น มี ๙ วาระ) เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ
บริบูรณ์แล้ว) ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (นี้เป็นข้อแตกต่างกัน) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมดจนถึงอสัญญสัตตพรหม) เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย (ทั้ง ๒ วาระ ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปาก-
ปัจจัย (ย่อ) เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ (ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งไม่มีเหตุ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
มหาภูตรูปทั้งหมด ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว) เพราะนอนันตรปัจจัย
เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ อโทสะ อโมหะอาศัยอโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย)
โมหะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โลภะอาศัยโมหะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยเหตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยเหตุ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ อโทสะ อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์
อาศัยอโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) โมหะและสัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะเกิดขึ้น
(พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ เหตุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ และเหตุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ อโทสะ อโมหะอาศัยอโลภะและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในอรูปาวจรภูมิ โมหะอาศัยโลภะและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุ
และอาศัยเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นเหตุและอาศัยเหตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยเหตุและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็น
เหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อโทสะและอโมหะ
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอาศัยอโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงผูกเป็นจักกนัย) ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอาศัยโลภะ
เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาต-
ปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นกัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยเหตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยเหตุและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย มี
๙ วาระ (๑)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สำหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจ
วิญญาณ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุ ซึ่งไม่มีเหตุ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนสัมปยุตต-
ปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับนปุเรชาตปัจจัย มีวาระในอรูป
เท่านั้น) เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร

มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร และนิสสยวาร มีวาระเหมือนกับปฏิจจวารนั่นเอง
เมื่อจบมหาภูตรูปแล้ว พึงเพิ่มคำว่า “ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย” พึงเพิ่มให้เหมือน
กับอายตนะ ๕ ที่ได้ทั้งในอนุโลมและปัจจนียะ สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวาร บริบูรณ์แล้ว
รูปไม่มี มีแต่อรูปอย่างเดียว)
๑. เหตุทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ อโลภะเป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะโดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) โลภะ
เป็นปัจจัยแก่โมหะโดยเหตุปัจจัย โทสะเป็นปัจจัยแก่โมหะโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ อโลภะเป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) โลภะเป็นปัจจัยแก่โมหะ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓))

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ เพราะปรารภเหตุ เหตุจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ เพราะปรารภเหตุ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภเหตุ เหตุและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออก
จากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัย
แก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณา
กิเลสที่ไม่เป็นเหตุซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคล
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (มีเฉพาะข้อความตอนต้นเท่านั้น ไม่มีอาวัชชนจิต ไม่มี
ข้อความนี้ว่า รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศล
นั้น เพราะปรารภกุศลนั้น เหตุและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (พึงจัดข้อความนี้เข้ากับ
บทที่มีในวาระนั้น ๆ เหมือนกับข้อความตอนที่ ๒) (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภเหตุและสัมปยุตตขันธ์ เหตุจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภเหตุและสัมปยุตตขันธ์ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุจึง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่
ไม่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภเหตุและสัมปยุตตขันธ์ เหตุและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุจึง
เกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุโดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ไม่
เป็นเหตุจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุ
และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ เหตุ
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (พึงขยายให้พิสดารจนถึงขันธ์ที่ไม่
เป็นเหตุ)
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (ย่อ พึงเพิ่มข้อความจนถึงหทัยวัตถุ
และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ)
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุและเหตุจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคย
สั่งสมไว้ดีแล้ว (พึงเพิ่มข้อความจนถึงหทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ)
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
เหตุ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุและ
สัมปยุตตขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุและสัมปยุตต-
ขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่
ไม่เป็นเหตุโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำเหตุ
และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เหตุและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓))
อนันตรปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์ซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู (ย่อ) เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอนันตรปัจจัย
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อนันตรปัจจัย (บทที่มีนเหตุปัจจัยเป็นมูล เหมือนกันทั้ง ๓ วาระ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่เหตุที่
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่
เป็นเหตุซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่
เป็นเหตุโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓))
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยสมนันตรปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
อัญญมัญญปัจจัย (แม้ทั้ง ๒ ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร นิสสยปัจจัยเหมือนกับ
นิสสยปัจจัยในปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วจึงให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วจึงให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะแล้วจึงให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา
มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ... (ปัจจัยนี้เหมือนกับอุปนิสสยปัจจัยข้อที่ ๒) (๓)
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่เหตุโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่
ไม่เป็นเหตุโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตต-
ขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเร-
ชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยปัจฉาชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอาเสวนปัจจัย (ปัจจัย
นี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
กัมมปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยกัมมปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุโดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่เหตุที่เป็นวิบากโดยกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ เหตุ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก เหตุ
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยวิปากปัจจัย
ได้แก่ อโลภะที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะโดยวิปากปัจจัย (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร ในวิปากวิภังค์ มี ๙ วาระ)
อาหารปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอาหาร-
ปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหาร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ อาหารที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุ
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ เหตุ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อินทรียปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอินทรียปัจจัย
ฯลฯ (บทที่มีเหตุเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยอินทรียปัจจัย (พึงขยายอินทรียปัจจัยให้พิสดารอย่างนี้ มี ๙ วาระ)
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยฌาน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยสัมปยุตตปัจจัย (สองปัจจัยเหล่านี้ มี ๙ วาระ)
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ เหตุเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย เหตุเป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปป-
ยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ เหตุและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ อโลภะเป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) โลภะ
เป็นปัจจัยแก่โมหะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอัตถิปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ เหตุเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดยอัตถิ-
ปัจจัย ได้แก่ อโลภะเป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) โลภะเป็นปัจจัยแก่โมหะ สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เห็นรูปด้วย
ทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอัตถิปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตเหตุโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ เหตุและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุและ
สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยงฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เหตุและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อโลภะและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะโดย
อัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) โลภะและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่โมหะโดย
อัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อโลภะและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่อโทสะ อโมหะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและเหตุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ เหตุและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เหตุและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ เหตุและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ เหตุและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่
ไม่เป็นเหตุโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ อโทสะ
อโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) ขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นเหตุและโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
(พึงผูกเป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุและอโลภะ ... (พึงผูก
เป็นจักกนัย) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อโลภะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่อโทสะ
อโมหะ และสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย โลภะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ
และสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคต-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๒] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (ผู้รู้พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๔๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่ไม่เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุและที่
ไม่เป็นเหตุโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๔๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑.เหตุทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๔๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
เหตุทุกะ จบ
๒. สเหตุกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๕๐] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิด
ขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๕๑] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่
สหรคตวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๓] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
เหตุเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๕๗] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
หทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย (ทั้ง
๕ วาระนี้เหมือนกับเหตุปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๒)
อัญญมัญญปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
ที่มีเหตุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญ-
มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๙] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒))

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะอัญญ-
มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๖๐] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนิสสยปัจจัย
เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย
เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย
เพราะมัคคปัจจัย (ฌานปัจจัยและมัคคปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัย ไม่มี
มหาภูตรูปที่เป็นภายนอก) เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะ
อัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๑] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
มนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
(พึงเพิ่มทุกบทจนถึงอสัญญสัตตพรหม)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ปัจจัย
นี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในอนุโลม) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน
อรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
[๖๔] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่มีเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงขยายให้
พิสดารจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีเหตุอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๖๕] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและ
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีเหตุและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๖๖] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุอาศัยขันธ์ที่มีเหตุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ไม่มีเหตุอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
สัมปยุตตเจตนาอาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๗] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนอาหาร-
ปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๖๘] สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โมหะที่สรหคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุอาศัยสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ และโมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย ฯลฯ (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๙] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๒. สเหตุกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย (บทที่มีสภาวธรรมที่มีเหตุเป็นมูล เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร
นั่นเอง) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ... ทำหทัยวัตถุ ฯลฯ (๓)
[๗๓] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ และ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่มีเหตุและทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๗๕] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์
ทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๗๖] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะทำขันธ์ ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย (อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ เฉพาะปวัตติกาลเท่านั้น)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๗๘] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตต-
พรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำ
กายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทำโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ... ทำหทัยวัตถุ ฯลฯ (๓)
[๗๙] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุและ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่มีเหตุและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโมหะทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่มีเหตุและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์ที่มีเหตุและ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๘๐] สภาวธรรมที่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๘๑] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุและ
โมหะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุทำสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๓] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๘๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๘๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๒. สเหตุกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโมหะเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
[๘๘] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับโมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๘๙] สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๙๐] สภาวธรรมที่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร


อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๖ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๖ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๖ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีเหตุเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๓] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๙๔] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)
๒. สเหตุกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ
ที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๙๗] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๙๘] สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน พระอริยะออกจาก
มรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ... โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็น
วิบากซึ่งมีเหตุจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วย
จิตที่มีเหตุด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุ
เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปค-
ญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุ ขันธ์ที่มี
เหตุจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศล
และอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีเหตุจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์
เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุและโมหะจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒.สเหตุกทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๙๙] สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุและโมหะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีเหตุจึงเกิดขึ้นโดย
เป็นตทารมณ์ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีเหตุและโมหะ ขันธ์ที่ไม่มี
เหตุและโมหะจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผล
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้วซึ่งไม่มีเหตุ พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุและโมหะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อกุศล
และอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากซึ่งมีเหตุจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ บุคคล
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง
พร้อมด้วยจิตที่ไม่มีเหตุด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณ
โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีเหตุและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุและที่ไม่มีเหตุโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๑
และโมหะที่ไม่มีเหตุ ขันธ์และโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๕๓ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น