Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๓ หน้า ๑๐๗ - ๑๖๐

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๓ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖.นเหตุสเหตุกทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๙๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
แต่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มี
เหตุโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และ
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
และที่ไม่เป็นเหตุไม่มีเหตุโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
[๑๙๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุและไม่มีเหตุโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๑๙๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุและที่ไม่เป็นเหตุไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุและที่ไม่เป็นเหตุไม่มีเหตุเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุและไม่มีเหตุโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๙๙] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

(ย่อ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๗ วาระ)

นสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๗ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
อารัมมณทุกนัย

[๒๐๐] นเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นอนันตรปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๔ วาระ)

โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนอวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๒๐๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

ปัจจยานุโลม จบ นเหตุสเหตุกทุกะ จบ
เหตุโคจฉกะ จบ
๒. จูฬันตรทุกะ
๗. สัปปัจจยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑-๔. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งอาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปัจจัยปรุงแต่ง
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งอาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย

[๒] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนุโลม จบ
[๓] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งอาศัยสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
มีปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (ย่อ)

[๔] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

ปัจจนียะ จบ

[๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ

[๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๗. สัปปัจจยทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
[๗] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งทำสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่มีปัจจัย
ปรุงแต่งให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ที่มีปัจจัยปรุงแต่งทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งทำสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย (ย่อ)
(พึงขยายปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารให้พิสดารอย่างนี้
ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระเท่านั้น)
๗. สัปปัจจยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อารัมมณปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้
แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิด
ขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความ
พรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีปัจจัยปรุงแต่งด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็น
ปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีปัจจัยปรุงแต่งให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะพิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค
และผลโดยอธิปติปัจจัย (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดย
อนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ (บทที่มีอุปนิสสยปัจจัย
เป็นมูล มี ๒ วาระ) เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๑ วาระเท่านั้น)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗.สัปปัจจยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓] สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่ง
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่งเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งโดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘.สังขตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สัปปัจจยทุกะ จบ
๘. สังขตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่ปัจจัยปรุงแต่งอาศัยสภาวธรรมที่ปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ปัจจัยปรุงแต่งเกิดขึ้น
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (พึงนับทุกะนี้ให้เหมือนกับสัปปัจจยทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สังขตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๙. สนิทัสสนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
อธิปติปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้อาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้อาศัยขันธ์ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งเห็นได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์
๑ ที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
ซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) (ย่อ พึงเพิ่มทุกปัจจัย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเห็นไม่ได้
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้อาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเห็นไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้อาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้อาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้อาศัยขันธ์
๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเห็นไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) (พึงเพิ่มทุกปัจจัยอย่างนี้)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๓] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๒๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๒๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
ฌานปัจจัย ” มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๙. สนิทัสสนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม
เหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ทำสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้ทำขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่
ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นไม่ได้ทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงเพิ่ม ๒ วาระ
แม้นอกนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๓.ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ทำสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้ ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)

[๒๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ
นเหตุปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ทำสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งเห็นไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขา-
ยตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเห็นไม่ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงเพิ่ม ๒ วาระนอกนี้ ย่อ)

[๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(พึงเพิ่มนิสสยวารอย่างนี้)
๙. สนิทัสสนทุกะ ๕. สังสัฎฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม
[๓๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เพราะอารัมมณปัจจัย
(พึงเพิ่มบททั้งหมดกับการนับสภาวธรรมที่มีปัจจัยปรุงแต่งอย่างนี้)
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๙. สนิทัสสนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ
ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้
และที่เห็นไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย
ขันธ์ที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออกจากมรรค
แล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส
ที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
กาย ฯลฯ เสียง ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง
พร้อมด้วยจิตที่เห็นไม่ได้ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะ ฯลฯ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่เห็นได้ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินรูปนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เห็นไม่ได้ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยอธิปติปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ
เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยสมนันตร-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเมื่อปรารถนาวรรณสมบัติจึงให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ วรรณสมบัติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันนตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ ... อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะ
เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
ปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย
ปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่
ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้ซึ่งเกิด
หลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็น
ปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (พึงขยายให้พิสดาร) (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (พึงขยายให้พิสดาร) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มกวฬิงการาหารทั้ง ๓
วาระ) เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มรูปชีวิตินทรีย์ทั้ง ๓ วาระ)
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นไม่ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นไม่
ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ได้
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี
๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่
เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้และ
เห็นไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๔๖] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่เห็นได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๕
อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะเป็นปัจจัยแก่
โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นไม่ได้
โดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๔
อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เห็นได้โดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้โดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งเห็นได้โดย
อัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เห็นได้โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย
อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเห็นได้และเห็นไม่ได้
โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้
โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เห็นไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๙] สภาวธรรมที่เห็นได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้โดยสหชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้โดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เห็นได้และที่เห็นไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้โดยปุเร-
ชาตปัจจัย (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๕ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙.สนิทัสสนทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ สนิทัสสนทุกะ จบ

๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่ง
กระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัย
โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ อาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น อาโปธาตุ
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบ
ได้เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และกระทบไม่ได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น จักขา-
ยตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัย
โผฏฐัพพายตนะเกิดขึ้น (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบ
ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ มหาภูตรูปที่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่
ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และกระทบไม่ได้
อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ อิตถินทรีย์ ฯลฯ
กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๕๕] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ที่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบได้และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่
กระทบไม่ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์
ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่
กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบ
ไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ที่กระทบไม่ได้ และอาศัยมหา-
ภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบได้และ
กระทบไม่ได้อาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ
อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยโผฏฐัพพายตนะและอาโปธาตุเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๗] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย (พึงเว้นปฏิสนธิและกฏัตตารูป) เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด)
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้
เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ อาโปธาตุ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูปที่กระทบได้เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุอาศัยมหาภูตรูป ๑
ที่กระทบได้เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูปที่กระทบได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น (พึงเพิ่มมหาภูตรูปที่
เป็นภายในและภายนอกเหล่านี้เข้าด้วย) (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้
และอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
ซึ่งกระทบไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้ อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น อิตถินทรีย์
ฯลฯ กวฬิงการาหารอาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้อาศัยอาโปธาตุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
(สำหรับบทที่มีสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นมูล พึงเพิ่ม ๒ วาระนอกนี้ แม้
ในฆฏนาก็พึงเพิ่ม ๓ วาระ ทราบแล้วพึงเพิ่มมหาภูตรูปที่เป็นภายในและภายนอก
ทั้งหมด)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖๑] สภาวธรรมที่กระทบได้อาศัยสภาวธรรมที่กระทบได้เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย (ย่อไว้ทั้งหมด) เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๖๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๖๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่กระทบได้ทำสภาวธรรมที่กระทบได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ทำสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้ทำขันธ์ ๑ ที่
กระทบไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปซึ่งกระทบไม่ได้ทำอาโปธาตุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น อิตถินทรีย์ ฯลฯ กวฬิงการาหารทำอาโปธาตุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
(ห้าวาระที่เหลือเหมือนกับปฏิจจวาร)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖๖] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ทำสภาวธรรมที่กระทบได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ทำสภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้ทำสภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ-
วิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยกายวิญญาณและทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
(ย่อ) เพราะอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(พึงทำการนับปัจจนียะอย่างนี้ นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
(แม้ในสังสัฏฐวาร ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๑ วาระ ย่อ เพราะอวิคตปัจจัย
มีเพียง ๑ วาระ พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
๑๐. สัปปฏิฆทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
ที่กระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้โดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะออก
จากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัย
แก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะ
พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้ง
หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ ปุริสินทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ ฯลฯ อาโปธาตุ
และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กระทบไม่ได้ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
โผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย
บุคคลยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ ปุริสินทรีย์ ฯลฯ ชีวิตินทรีย์
ฯลฯ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กระทบไม่ได้
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดย
อธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
โดยอนันตรปัจจัย
สมนันตรปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
สมนันตรปัจจัย ฯลฯ
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗๓] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาต-
ปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ เป็นปัจจัยโดย
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอุป-
นิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุและเสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์ อุตุและเสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ อาศัย
ศีล ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย และโภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์
ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะและหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
กระทบไม่ได้โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่กระทบไม่ได้
ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
เพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
กระทบได้และกระทบไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย (สำหรับปัจจัยทั้ง ๒ พึงเพิ่มบท
ที่เป็นมูล) (๓)
อาเสวนปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้ซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่
มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
กัมมปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ
ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้
โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
วิปากปัจจัย ได้แก่ สภาวธรรมที่เป็นวิบากซึ่งกระทบไม่ได้ ฯลฯ มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบไม่ได้โดยอาหารปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระที่เหลือ แม้
ในวาระทั้ง ๒ ก็พึงเพิ่มปฏิสนธิและกวฬิงการาหาร ไว้ในตอนท้ายด้วย) (๓)
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๘๑] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอินทรีย-
ปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอินทรียปัจจัย
มี ๓ วาระ (แม้ในวาระทั้ง ๓ ก็พึงเพิ่มชีวิตินทรีย์ไว้ในตอนท้ายด้วย) (๓)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และกายวิญญาณเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี
๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี
๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ
ไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ
ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
กระทบได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่
ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบ
ได้และที่กระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
กระทบได้และกระทบไม่ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย
มี ๑ วาระ (วาระที่ ๑ เหมือนกับปฏิจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ มหาภูตรูปที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่อาโปธาตุโดยอัตถิปัจจัย
มหาภูตรูปที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
ซึ่งกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่อิตถินทรีย์ ฯลฯ
กวฬิงการาหารโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและ
กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ และ
อาโปธาตุโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) (๓)
[๘๔] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (พึง
เพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งหทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์
ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ และกวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบ
ไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่กระทบได้
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูปที่กระทบ
ได้โดยอัตถิปัจจัย อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปซึ่งกระทบได้โดยอัตถิปัจจัย อาโปธาตุเป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะโดยอัตถิปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ...
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบ
ได้โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
ที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกระทบ
ได้และกระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๘๕] สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบ
ได้โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่
ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กระทบไม่ได้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปที่กระทบไม่ได้ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม)
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและ
กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้
และที่กระทบไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๖] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๗] สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๘๘] สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้
โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
[๘๙] สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
กระทบได้โดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบไม่
ได้โดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กระทบได้และที่กระทบไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กระทบได้
และที่กระทบไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐.สัปปฏิฆทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๙๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงนับอนุโลมมาติกา)
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
สัปปฏิฆทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๑๑. รูปีทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๙๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๙๕] สภาวธรรมที่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นรูปและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปและอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูป
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูป
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นรูปและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
(เพราะนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกำหนดว่า ไม่มีเหตุ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๐ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น