Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๔ หน้า ๑๖๑ - ๒๑๔

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๔ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๙๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๐๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นัตถิปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๑๑. รูปีทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (วาระที่เหลือ
ก็อย่างนี้ พึงจำแนกปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูป ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกาย-
วิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ...
ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ
ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูปทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) (๓)
[๑๐๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูป
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๓.ปัจจยวาร
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปทำสภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นรูป
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๗] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๐๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ

(ย่อ พึงเพิ่มทุกวาระ)

นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๐๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงเพิ่มทุกวาระ) ฯลฯ

ฌานปัจจัย ” มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๑๑. รูปีทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูป ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

(การนับปัจจนียะเป็นต้นและสัมปยุตตวารพึงเพิ่มไว้ทั้งหมดอย่างนี้ มีเพียง
วาระเดียวเท่านั้น)
๑๑. รูปีทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ ปุริสินทรีย์
ฯลฯ ชีวิตินทรีย์ ฯลฯ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๑๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศล
นั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่เคยเกิด
ขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิด
ขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นรูปด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๑๑๔] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ กวฬิง-
การาหารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ (ย่อ) นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค
และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่เป็นรูปให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ฯลฯ ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยอธิปติปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปซึ่ง
เกิดหลัง ๆ ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
(สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในที่นี้ ไม่มีฆฏนา อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในที่นี้ ไม่มีฆฏนา)
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๑๖] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอุป-
นิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ อุตุ โภชนะ และเสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน อาศัยศีล ฯลฯ ทุกข์
ทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๑๗] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
กวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วย
ทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๑๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๑๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปซึ่งเกิด
หลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๑๒๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากโดยกัมม-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยกัมมปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
(๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยและอาหารปัจจัย
[๑๒๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยวิปาก-
ปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอาหารปัจจัย
มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อินทรียปัจจัย
[๑๒๒] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยอินทรียปัจจัย
ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่
จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอินทรียปัจจัย
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดย
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๔] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๕] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตต-
พรหม)
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กวฬิงการาหารโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปโดย
อัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปโดย
อัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๒๗] สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูป
โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นรูปและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคต-
ปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๒๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๖ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๒๙] สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยสหชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปโดยสหชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปโดย
สหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นรูป มี ๔
อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นรูปและที่ไม่เป็นรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๑.รูปีทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๓๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๓๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงเพิ่มอนุโลมมาติกา)
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
รูปีทุกะ จบ
๑๒. โลกิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๑๓๔] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์
๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
โลกุตตระเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๕] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๓๖] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็น
โลกิยะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๗] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ

(ในสุทธนัยที่เป็นโลกุตตระซึ่งมีนอาเสวนปัจจัยเป็นมูล พึงกำหนดว่า เป็น
วิบาก ที่เหลือเป็นไปตามปกตินั่นเอง)

นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๓๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย “ มี ๒ วาระ

(บทที่มีนอนันตรปัจจัยเป็นต้นเหมือนกับปัจจนียะ) ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๓๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๑๒. โลกิยทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๐] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่เป็นโลกิยะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๔๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระทำสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรมที่เป็นโลกุตตระทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็น
โลกุตตระให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
โลกุตตระและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๓.ปัจจยวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๔๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะทำสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นโลกิยะฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นโลกิยะ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๔] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

(โลกุตตระและอรูป พึงกำหนดว่าเป็นวิบาก)

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๔๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(บทที่มีนสมนันตรบทเป็นต้นเหมือนกับปัจจนียะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร

นวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๔๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๑๒. โลกิยทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๗] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเพราะเหตุ
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์
๒ ฯลฯ (๑) (พึงขยายสังสัฏฐวารให้พิสดารอย่างนี้ พร้อมทั้งการนับ มี ๒ วาระ)
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๑๒. โลกิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๘] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย
[๑๔๙] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศล
นั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณา
โคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้
กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นโลกิยะด้วย
เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ขันธ์ที่
เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๑๕๐] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทานและอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย พระอริยะรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นโลกุตตระ
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
อธิปติปัจจัย
[๑๕๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ฯลฯ พระเสขะ
พิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
[๑๕๒] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดย
อธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็น
โลกุตตระโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรรมที่เป็น
โลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัย
[๑๕๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
โลกิยะซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน
โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๑๕๔] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นโลกุตตระซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็น
ปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๕๕] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
สมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (มี ๕ วาระ ไม่มีฆฏนา ) เป็นปัจจัย
โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๕๖] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นโลกิยะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำ
วิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีลที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็น
โลกิยะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นโลกิยะ ฯลฯ ทุกข์ทางกายโดย
อุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๑๕๗] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา มรรคของพระอริยะ ฯลฯ มรรคของพระอริยะเหล่านั้น ฯลฯ เป็น
ปัจจัยแก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็น
ปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๕๘] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยปุเร-
ชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วย
ทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกิยะโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระ
โดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๕๙] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อาเสวนปัจจัย
[๑๖๐] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกิยะ
ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อาเสวนปัจจัย (๒)
กัมมปัจจัย
[๑๖๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากโดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็น
โลกุตตระโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๑๖๒] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
วิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย
[๑๖๓] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย
[๑๖๔] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มปฏิสนธิ) จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอินทรีย-
ปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๑๖๕] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ ฯลฯ มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะ มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยสัมปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ ฯลฯ มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๖๖] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกิยะโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระ
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๖๗] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือน
กับปุเรชาตปัจจัย) หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกิยะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิ-
ปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระโดย
อัตถิปัจจัย (๒)
[๑๖๘] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็น
โลกุตตระโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๑๖๙] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นโลกิยะโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กาย
นี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นโลกุตตระและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
โลกุตตระโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นโลกุตตระและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย (๒)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๗๐] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๗๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระโดยอุปนิสสย-
ปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๑๗๒] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็น
โลกุตตระโดยสหชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
โลกิยะโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นโลกิยะและที่เป็นโลกุตตระเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
โลกุตตระโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๑๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๒.โลกิยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๗๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๗๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงเพิ่มอนุโลมมาติกา)
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ
โลกิยทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๓.เกนจิวิญเญยยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๑๓. เกนจิวิญเญยยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗๖] สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบาง
ดวงรู้ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่
จิตบางดวงรู้ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบาง
ดวงรู้ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบางดวง
รู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๗๗] สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้
อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๓.เกนจิวิญเญยยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบางดวงรู้ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิต
บางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบาง
ดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบาง
ดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๗๘] สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้และที่
จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่
จิตบางดวงรู้ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวง
รู้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่จิตบางดวง
รู้ไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่จิตบาง
ดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปที่จิตบางดวงรู้ได้และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้อาศัยขันธ์ ๑ ที่จิตบางดวงรู้ได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๓.เกนจิวิญเญยยทุกะ ๗.ปัญหาวาร
และที่จิตบางดวงรู้ไม่ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๗๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๘๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(การนับวาระทั้ง ๔ อย่าง บริบูรณ์แล้วอย่างนี้)
(พึงขยายสหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร
ให้พิสดารอย่างนี้ ในปัจจยวารพึงแสดงหทัยวัตถุและอายตนะ ๕ พึงเพิ่มนัยนั้น ๆ
ตามที่จะหาได้)
๑๓. เกนจิวิญเญยยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๘๑] สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่จิตบางดวงรู้ได้
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่จิตบางดวงรู้ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(การนับวาระทั้ง ๔ อย่างบริบูรณ์แล้วอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
เกนจิวิญเญยยทุกะ จบ
จูฬันตรทุกะ จบ
๓. อาสวโคจฉกะ
๑๔. อาสวทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะอาศัยกามาสวะเกิดขึ้น กามาสวะและอวิชชาสวะ
อาศัยทิฏฐาสวะเกิดขึ้น กามาสวะและทิฏฐาสวะอาศัยอวิชชาสวะเกิดขึ้น อวิชชาสวะ
อาศัยภวาสวะเกิดขึ้น อวิชชาสวะอาศัยทิฏฐาสวะเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัยแม้แต่
ละอย่าง ๆ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอาสวะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอาสวะเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยกามาสวะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ อาสวะ ๔ อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาสวะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะอาศัยกามาสวะและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นอาสวะและอาศัยอาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
ที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอาสวะและอาศัยกามาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อาสวะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
นอารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอาสวะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะ
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอาสวะและสัมปยุตต-
ขันธ์เกิดขึ้น (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

ปัจจนียานุโลม จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๑๔. อาสวทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย (บทที่มีอาสวะเป็นมูล มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอาสวะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
ทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
อาสวะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อาสวะทำขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อาสวะ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาสวะและจิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ อาสวะและ
สัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะทำกามาสวะ
และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะ
ทำกามาสวะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอาสวะและทำอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ที่
ไม่เป็นอาสวะทำอาสวะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่เป็นอาสวะและ
ที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทิฏฐาสวะ
อวิชชาสวะ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอาสวะและทำกามาสวะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ
และสัมปยุตตขันธ์ทำกามาสวะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย
ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
เหตุซึ่งไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอาสวะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงนับจำนวนทั้งหมดอย่างนี้)
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๑๔. อาสวทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑-๔. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอาสวะเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะเกิดระคนกับกามาสวะ (พึงผูกเป็นจักกนัย
ย่อ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

(การนับและสัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)
๑๔. อาสวทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ กามาสวะเป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะและอวิชชาสวะโดยเหตุปัจจัย ภวาสวะ เป็น
ปัจจัยแก่อวิชชาสวะโดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะโดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะ
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ กามาสวะเป็นปัจจัยแก่ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอาสวะโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็น
อาสวะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
อาสวะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อาสวะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะ อาสวะจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็น
อาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะ อาสวะและสัมปยุตตขันธ์
จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส
ที่ไม่เป็นอาสวะซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิด
ขึ้น เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นอาสวะด้วยเจโตปริยญาณ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๔.อาสวทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ
เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น อาสวะจึงเกิดขึ้น บุคคลสมาทานศีล ฯลฯ รักษาอุโบสถ
ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น อาสวะจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็น
อาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ (เหมือนกับข้อความตอน
ที่ ๒) บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่เป็นอาสวะ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์นั้น อาสวะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะและสัมปยุตตขันธ์
อาสวะจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะและสัมปยุตตขันธ์ ขันธ์ที่
ไม่เป็นอาสวะจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อาสวะและที่ไม่เป็นอาสวะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอาสวะและ
สัมปยุตตขันธ์ อาสวะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๒๑๔ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น