Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๖ หน้า ๒๗๐ - ๓๒๓

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๖ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๕๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุฯลฯ โภชนะ ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา มรรคและผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วทําตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน
เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วทําตนให้เดือดร้อน ให้ร้อนรน เสวยทุกข์มีการแสวง
หาเป็นมูล ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์
ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่วิบากโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๔๕๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาท

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ และหทัยวัตถุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
[๔๕๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบาก

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย๑ (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะและโสตายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๔๕๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

เชิงอรรถ :
๑ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ๒๕๓๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๓)
[๔๕๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาเสวนปัจจัย
มี ๑ วาระ (ย่อ)
กัมมปัจจัย
[๔๕๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
วิปากปัจจัย
[๔๕๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ (ย่อ บทที่มีสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๔๕๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
โดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ กวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓)
[๔๖๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
อาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือโดยอาหารปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอาหารปัจจัย
ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อาหารปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่
อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อินทรียปัจจัย (๑)
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
อินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นมูล มี ๓ วาระ เฉพาะบทแรกเท่านั้นมี
รูปชีวิตินทรีย์ นอกนี้ไม่มี) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่
อินทรีย์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๖๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึด
ถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้
แก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๔๖๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ พึงจำแนกบท
ตามที่ตั้งไว้ให้บริบูรณ์) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้
ให้พิสดาร) (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
(ย่อ พึงขยายบทตามที่ตั้งไว้ให้พิสดาร) (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ (ย่อ พึงจำแนก
บทตามที่ตั้งไว้) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง
คือ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ กลิ่น ฯลฯ รส ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็น
วิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะและอาหาระ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๖๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
อัตถิปัจจัย รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและหทัยวัตถุ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ และอาหาระ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและมหา-
ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและ
กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย มี
อย่างเดียว คือ อาหาระ ได้แก่ กวฬิงการาหารที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอัตถิปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๖๖] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๖๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหารปัจจัย (๓)
[๔๖๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย๑ ปัจฉาชาตปัจจัย และอาหาร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยอารัมมณปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย และอาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยปัจฉาชาตปัจจัยและอาหารปัจจัย (๓)

เชิงอรรถ :
๑ ไม่ปรากฏในฉบับฉัฏฐสังคีติ ปี ๒๕๓๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ โดยปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยสหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และ
อาหารปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดย
อาหารปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๖๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นอาหารปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๗๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๗๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อุปาทินนทุกะ จบ
มหันตรทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. อุปาทานโคจฉกะ
๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานอาศัย
กามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยสีลัพพตุปาทานเกิดขึ้น สีลัพพตุปาทาน
อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น อัตตวาทุปาทาน
อาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ... อาศัยกามุปาทาน ฯลฯ (พึงทำเป็น
จักกนัยทั้งหมด) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทานอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัยทั้งหมด) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทาน อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ พึงเว้นรูป)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์
เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ กามุปาทานอาศัยอัตตวาทุปาทานเกิดขึ้น
อัตตวาทุปาทานอาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุปาทานเกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (ย่อ มี ๙ วาระ ในอรูปาวจรภูมิ
มีอุปาทาน ๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร ผู้รู้เมื่อจะจําแนกทิฏฐุปาทาน พึงเพิ่มคําว่า
กามุปาทานที่เกิดร่วมกัน)
๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานทำทิฏฐุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทานทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
อุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ อุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานทำทิฏฐุปาทาน
และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานทำกามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) กามุปาทานทำทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทานและทำอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงทำเป็นจักกนัย) จิตตสมุฏฐานรูปทำอุปาทานและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานทำอุปาทานและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและทำทิฏฐุปาทานให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) กามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทำทิฏฐุปาทาน
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
... เพราะอารัมมณปัจจัย (ในอารัมมณปัจจัย บทที่มีสภาวธรรมซึ่งไม่มี
อุปาทานเป็นมูล พึงเพิ่มอายตนะ ๕ และหทัยวัตถุ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทาน
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

(เหมือนกับปฏิจจวาร) ฯลฯ

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๖๙. อุปาทานทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานเกิดระคนกับทิฏฐุปาทาน ทิฏฐุปาทานเกิดระคนกับ
กามุปาทาน (พึงทำเป็นจักกนัย โดยนัยนี้ พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทาน
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)
๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทาน
และที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ
(พึงเพิ่มคําว่า เพราะปรารภ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็น
อุปาทานด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มคําว่า เพราะปรารภ)
อธิปติปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำอุปาทาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อุปาทานจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (มีเฉพาะ
อารัมมณาธิปติปัจจัย)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคล
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
อุปาทานโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น อุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ โดยอารัมมณาธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
(พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ มีเฉพาะอารัมมณาธิปติปัจจัย)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์
ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อุปาทานเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิต
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัย
โดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ
ถือทิฏฐิ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว
มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ลักทรัพย์ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว
ฯลฯ ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่า
ชาวนิคม ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึง
เพิ่มบทที่เป็นมูล) บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ลักทรัพย์ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ
ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ฯลฯ
ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่อุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุเพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย
กัมมปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
กัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์อุปาทานและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นอุปาทาน ฯลฯ
มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (มีเฉพาะกวฬิงการาหารอย่างเดียว) เป็นปัจจัยโดย
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (รูปชีวิตินทรีย์ มีเพียง ๑ วาระเท่านั้น) เป็นปัจจัย
โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดยมัคคปัจจัย
ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยมัคคปัจจัย
(โดยเหตุนี้ พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ) เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐุปาทานเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (พึงทำเป็น
จักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (ย่อ เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
(ย่อ พึงขยายให้พิสดาร) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ (เหมือนกับสหชาตปัจจัย)
ปุเรชาตะ (เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ
พึงจำแนกสหชาตะเหมือนกับสหชาตปัจจัย ปุเรชาตะเหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานโดย
อัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ อุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ อุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทานและทิฏฐุปาทานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงทำเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ ทิฏฐุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กามุปาทานและ
สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๙. อุปาทานทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็น
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและ
ที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานและที่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๑] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๐. อุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อุปาทานทุกะ จบ
๗๐. อุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงทำเหมือนโลกิยทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
อุปาทานิยทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้น โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โลภะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโลภะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๔๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจาก
อุปาทาน ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๕๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โลภะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
และโลภะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งสัมปยุตด้วยทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่
วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๒)
... เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
นกัมมปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงทำการนับ ๒ อย่างนอกนี้ สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขี้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทาน ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและ
ทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่
วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โลภะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และโลภะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
(ย่อ ในอารัมมณปัจจัย พึงเพิ่มปัญจวิญญาณเข้าด้วย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕๙] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจาก
อุปาทาน ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
วิปปยุตจากอุปาทานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)
๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๖๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
ฯลฯ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มเฉพาะอรูปเท่านั้น)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มเฉพาะอรูปเท่านั้น)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเพราะเหตุปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่ม
เฉพาะอรูปเท่านั้น)

เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
เพราะนเหตุปัจจัย (ย่อ)

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตวาร พึงทำอย่างนี้)
๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็น
ปัจจัยแก่โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) โลภะ
ที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) โลภะ
ที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๖๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) โมหะที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทาน เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๓ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น