Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๘ หน้า ๓๗๘ - ๔๓๑

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๘ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมอง ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและ
ไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๘] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กิเลสไม่
ทำให้เศร้าหมอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ
[๕๐] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่กิเลสทำ
ให้เศร้าหมองเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเกิดระคนกับสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑ วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำ
ให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ยินดีทิฏฐิ ฯลฯ (เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะ
ปรารภวิจิกิจฉา ฯลฯ เพราะปรารภอุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว
พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งขันธ์ที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต
ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัย
แก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๕๓] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมอง เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำ
ให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นเพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียวคือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๕๗] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น ... อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๕๙] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ
และเสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ และเสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
(ย่อ) (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ได้แก่ เจตนาที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
วิปปยุตตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำ
ให้เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๖๕] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (๒)
[๖๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๗] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๖๘] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้
เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๖๙] สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหาร-
ปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗๐] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๗๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๗๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

สังกิลิฏฐทุกะ จบ
๗๘. กิเลสสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๗๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยกิเลสเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตตด้วยกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยกิเลสเกิดขึ้น (๒)
(กิเลสสัมปยุตตทุกะ เหมือนกับสังกิลิฏฐทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
กิเลสสัมปยุตตทุกะ จบ
๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลส
และเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นอารมณ์ของกิเลสและที่เป็นอารมร์ของกิเลสแต่ไม่
เป็นกิเลส อาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะเกิดขึ้น (๓)
(โดยนัยนี้ ปฏิจจวาร สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และ
สัมปยุตตวาร ก็เหมือนกับกิเลสทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน ส่วนการระบุข้อความ
ต่างกัน)
๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นกิเลสและเป็น
อารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตกิเลสโดยเหตุปัจจัย (โดยนัยนี้ จึงมี ๔ วาระ
เหมือนกับกิเลสทุกะ) (๔)
อารัมมณปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภกิเลส
ขันธ์ที่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภกิเลส ขันธ์ที่เป็น
อารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภกิเลส
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๗] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินฌานนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมแล้ว
โทมนัสจึงเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณา
โวทาน บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่
เป็นกิเลสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (สองวาระนอกนี้ เหมือนกับ
กิเลสทุกะ แม้อารัมมณฆฏนาก็เหมือนกับกิเลสทุกะ)
อธิปติปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นพิจารณา
พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและ
ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่
เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (วาระ ๒ อย่างนอกนี้
เหมือนกับกิเลสทุกะ แม้อธิปติฆฏนาก็เหมือนกับกิเลสทุกะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๗๙] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลสโดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับ
กิเลสทุกะ)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอารมณ์
ของกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่
ไม่เป็นกิเลสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของกิเลสแต่ไม่เป็น
กิเลสโดยอนันตรปัจจัย
(อนันตรปัจจัย ๒ วาระนอกนี้เหมือนกับกิเลสทุกะในอนันตรปัจจัย ไม่มีข้อ
แตกต่างกัน แม้อนันตรฆฏนาและปัจจัยทั้งหมดก็เหมือนกับกิเลสทุกะ ไม่มีข้อแตก
ต่างกัน ในอุปนิสสยปัจจัยไม่มีโลกุตตระ ทุกะนี้เหมือนกับกิเลสทุกะ ไม่ข้อแตก
ต่างกัน)
กิเลสสังกิเลสิกทุกะ จบ
๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลส
และที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัย
กิเลสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่
ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะและสัมปยุตตขันธ์
อาศัยโลภะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๘๑] สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่
กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลส
ทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กิเลสอาศัยขันธ์ที่
กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่
ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และกิเลสอาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็น
กิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๘๒] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะ
อาศัยโลภะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
กิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่
เป็นกิเลสและอาศัยกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่ถูกกิเลสทําให้เศร้าหมอง
แต่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็น
กิเลส และอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๘๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๘๔] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น โมหะที่สหรคด้วยอุทธัจจะอาศัยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลส
ทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
กิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมอง และที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอาศัยวิจิกิจฉาและ
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๘๕] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

(โดยนัยนี้ การนับ ๒ อย่างนอกนี้ สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร
สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็น
กิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตกิเลสโดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นกิเลสและที่
กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมอง และที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และกิเลสโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะ
ปรารภกิเลส กิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภกิเลส ขันธ์ที่กิเลส
ทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภกิเลส
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๘๘] สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภขันธ์ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส ขันธ์ที่กิเลสทําให้เศร้าหมอง
แต่ไม่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่กิเลสทําให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส กิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์
ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
(พึงทําวาระนอกนี้ให้เป็น ๓ วาระ)
อธิปติปัจจัย
[๘๙] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว
คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ ... เพราะทำขันธ์ที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มี ๓ วาระ (อธิปติปัจจัยมี ๒ อย่างพึงเพิ่ม
ให้เป็น ๓ วาระ พึงเพิ่มแม้อธิปติปัจจัย ๒ อย่างนอกนี้ ให้เป็น ๓ วาระ)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๙๐] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่ม
เป็น ๙ วาระ ไม่มีอาวัชชนจิตและวุฏฐานะ)
เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
(ไม่มีทั้งปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๙๑] สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทําให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตกิเลสโดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกิเลสที่กิเลสทําให้เศร้าหมองและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสโดย
กัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่กิเลสทําให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และกิเลสโดยกัมมปัจจัย (๓)

... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๒] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๙๓] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่กิเลสทําให้เศร้าหมองโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (มี ๙ วาระ พึงเพิ่มเพียง ๓ บทเท่านั้น)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๙๔] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๑. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๙๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ จบ
๘๑. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตตด้วยกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ
อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น
(ทุกะนี้เหมือนกับกิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน พึงขยายวาระ
ทั้งหมดให้พิสดาร)
กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๒. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๘๒. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
[๙๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากกิเลสแต่เป็นอารมณ์ของกิเลส
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(ทุกะนี้ ไม่มีข้อแตกต่างกันเหมือนโลกิยทุกะ)
กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ จบ
กิเลสโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๓. ปิฏฐทุกะ
๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณ
ด้วยด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(เหมือนกับปฏิจจวาร)
[๖] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
มหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตต-
พรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำ
กายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคทำสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวารพึงทำอย่างนี้)
๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ) (๑)

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเพราะนเหตุปัจจัย (ย่อ) (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวารพึงทำอย่างนี้)
๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิด
เพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
ราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา
ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ทิฏฐิที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น
ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้นเพราะปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณา
กิเลสที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ
เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้นยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่ง
ละได้แล้วพิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่
อนาคตังสญาณและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะ
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๑๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและ
ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทํา
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรค ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
...โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๒๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฯลฯ ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
ทุกข์ทางกาย ... มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา
ฯลฯ ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ...
โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ และความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๒)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดย
อัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ (ย่อ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๒)
[๒๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรค เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดย
อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิงการา-
หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๙] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๐] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดย
สหชาตปัจจัย (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดย
สหชาตปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๓. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัยา ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๔ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ จบ
๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (พึงขยายให้พิสดาร
เหมือนทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาเกิดขึ้น (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(นเหตุปัจจัยที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ในปัจจนียะแห่งปัจจยวาร มี ๓ วาระ
พึงยกโมหะขึ้นแสดง วาระแม้ทั้งหมดเหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพทุกะ แม้
อุทธัจจนียะก็ต่างกัน)
๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย (ย่อ) (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่มรรคเบื้องบน ๓ พึงประหาณ ฯลฯ เพราะปรารภอุทธัจจะ
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้นเพราะ
ปรารภโทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะ
พิจารณากิเลสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งขันธ์ที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๓๘] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
ซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน
๓ จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
และขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะ
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง
เกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๔๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
(ภาวนาเหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๔. ภาวนายปหาตัพพทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง
คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ...
โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ และความปรารถนาโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบนโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อาศัยโทสะ
ที่มรรคเบื้องบน ๓ พึงประหาณ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความ
ปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
ราคะที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่ไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๓๑ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น