Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๑๐ หน้า ๔๘๖ - ๕๓๙

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๑๐ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกและวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีวิตกและ
วิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกแล้วทําฌานที่ไม่มีวิตกให้
เกิดขึ้น ทํามรรคให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีล
ที่ไม่มีวิตก ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ และวิตกแล้ว ทําฌานที่ไม่มีวิตก ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา
ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มีวิตก ฯลฯ เสนาสนะและวิตกเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่ไม่มีวิตก ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรคที่ไม่มีวิตก
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย
(มี ๓ วาระ พึงเพิ่มอุปนิสสยปัจจัยเข้าในที่ทุกแห่ง) ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่
ไม่มีวิตกแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่มีวิตก ฯลฯ วิปัสสนา
ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มี
วิตก ฯลฯ เสนาสนะ และวิตกแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มีวิตก ฯลฯ เสนาสนะและวิตกเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่มีวิตก ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... มรรคที่มีวิตก
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกแล้วให้ทาน ฯลฯ (พึงเพิ่ม
บทที่เขียนไว้ในทุติยวารเข้าทั้งหมด) ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัย
ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ เสนาสนะและวิตกแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มีวิตก ฯลฯ เสนาสนะและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีวิตก
ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... มรรคที่มีวิตก ... ผล
สมาบัติและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๒๗] สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกและวิตกโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มี
วิตกและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๒๘] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกและวิตกโดยปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีวิตกจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีวิตกโดยปุเรชาตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๑๒๙] สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๓๐] สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีวิตกโดย
กัมมปัจจัย (โดยนัยนี้ จึงมี ๔ วาระ พึงเพิ่มทั้งสหชาตะและนานาขณิกะ)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๓๑] สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกและ
สัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๓๒] สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยอัตถิปัจจัย
(มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดย
อัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกและสัมปยุตตขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น วิตก
และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิ-
ปัจจัย (๓)
[๑๓๓] สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีวิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงทําแม้สหชาตะ
ให้เป็น ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอัตถิปัจจัย
(ในปฏิสนธิขณะ มี ๓ วาระ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตก วิตก และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีวิตก วิตก และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตก
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีวิตกและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีวิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิตกโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็มี ๒ วาระ) (๓)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๔] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓๕] สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๑๓๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๑๓๗] สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีวิตกและไม่มีวิตก
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๓๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๗. สวิตักกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๓๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๔๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

สวิตักกทุกะ จบ
๘๘. สวิจารทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๔๑] สภาวธรรมที่มีวิจาร อาศัยสภาวธรรมที่มีวิจารเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีวิจารเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงทําทุกะนี้ให้เหมือนกับสวิตักกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน
มัคคปัจจัย ในทุกะนี้พึงเพิ่มเป็น ๔ วาระ ในสวิจารทุกะ มีข้อแตกต่างกันเท่านี้)
สวิจารทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๘๙. สัปปีติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๒] สภาวธรรมที่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ปีติและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีปีติเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ปีติและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยปีติเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีปีติเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยปีติเกิดขึ้น
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยปีติเกิดขึ้น
ปีติอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มสัปปีติกทุกะให้เหมือนกับสวิตักกทุกะในที่ทุกแห่ง ในที่ทุกแห่ง
ปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล มี ๙ วาระ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๔๔] สภาวธรรมที่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ปีติและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่มีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปีติเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่มีปีติอาศัยปีติที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติและ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปีติเกิดขึ้น (๓)
[๑๔๕] สภาวธรรมที่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติและอาศัยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติและอาศัยปีติเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติอาศัยสภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งมี
ปีติและอาศัยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติและอาศัยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีปีติและอาศัยปีติและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทําอย่างนี้)
๘๙. สัปปีติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๔๗] สภาวธรรมที่มีปีติทำสภาวธรรมที่มีปีติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (ย่อ ปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล มี ๙ วาระ บริบูรณ์เหมือนปัจจยวาร
ฝ่ายอนุโลมในสวิตักกทุกะ ปีติไม่มีข้อแตกต่างกัน)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่มีปีติทำสภาวธรรมที่มีปีติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติทำสภาวธรรมที่ไม่มีปีติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
(พึงเพิ่มทั้งปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล เหมือนกับปฏิจจวาร พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่มีปีติและปีติทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(เหมือนกับอนุโลม มี ๙ วาระ เฉพาะปวัตติกาลเท่านั้น ปฏิสนธิกาลไม่มี มี
เพียงโมหะอย่างเดียวเท่านั้น)

นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทําอย่างนี้)
๘๙. สัปปีติกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๔๘] สภาวธรรมที่มีปีติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่มีปีติเพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ

อนุโลม จบ

นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๙] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ปีติและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ปีติ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๕๐] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติ ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติ ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๕๑] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่มีปีติ
พิจารณาด้วยจิตที่ไม่มีปีติ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้น ราคะที่ไม่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึง
เกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว พิจารณาผลด้วยจิตที่ไม่มีปีติ พระอริยะพิจารณา
นิพพาน ด้วยจิตที่ไม่มีปีติ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อาวัชชนจิตที่ไม่มีปีติ และปีติโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่มี
ปีติซึ่งละได้แล้วด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่
เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติด้วยจิตที่
ไม่มีปีติ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่มีปีติจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
อารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิตและปีติโดย
อารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึง
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่มีปีติ พิจารณาด้วยจิตที่มีปีติ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่มีปีติจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ
ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล ด้วยจิตที่มีปีติ พระอริยะพิจารณานิพพาน ด้วยจิต
ที่มีปีติ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลที่มีปีติ โดยอารัมมณ-
ปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่มีปีติซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้
แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่มี
ปีติและปีติด้วยจิตที่มีปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่มีปกติ พิจารณา
ด้วยจิตที่มีปีติ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น
ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผลแล้วพิจารณาผลด้วยจิตที่มีปีติ พระอริยะพิจารณานิพพานด้วย
จิตที่มีปีติ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลที่มีปีติ และปีติโดย
อารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่มีปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์
ที่ไม่มีปีติและปีติด้วยจิตที่มีปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้นเพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น เพราะ
ปรารภขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๕๒] สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึงเกิด
ขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่มีปีติและปีติ ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึง
เกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๑๕๓] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ปีติและจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ปีติและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๑๕๔] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่
มีปีติ ฯลฯ พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่ไม่มีปีติ ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะที่ไม่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ
ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ด้วยจิตที่ไม่มีปีติ พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย
จิตที่ไม่มีปีติ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลสมาบัติที่ไม่มีปีติ
และปีติโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่มี
ปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่ไม่มีปีติ เพราะทําความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่มีปีติจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นเพราะทําขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่
ไม่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วย
จิตที่ไม่มีปีติ ฯลฯ (ย่อ) นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลที่มีปีติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
โดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและ
ปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่มีปีติ เพราะทําความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
เพราะทําขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีปีติ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ (ย่อ) นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผลที่มีปีติ และปีติโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นด้วยจิตที่มีปีติ เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ราคะที่มีปีติ ฯลฯ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้นเพราะทําขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๕๕] สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่มีปีติและ
ปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีปีติจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะทําขันธ์ที่มีปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะทําขันธ์ที่มีปีติและปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ขันธ์ที่มีปีติและปีติจึงเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๕๖] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่มีปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตร-
ปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีปีติ
และปีติที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มี
ปีติ ภวังคจิตที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ขันธ์ที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่
มีปีติ มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ
ที่เป็นกิริยา ภวังคจิตที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ไม่มีปีติ กุศลและอกุศลที่มี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีปีติ กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและปีติที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๑๕๗] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ปีติที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปีติที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
ขันธ์ที่ไม่มีปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติที่ไม่มีปีติและปีติโดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปีติที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติ
ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีปีติ
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติ ขันธ์ที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีปีติ
มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งมีปีติ ภวังคจิตที่
ไม่มีปีติเป็นปัจจัย แก่ภวังคจิตที่มีปีติ กุศลและอกุศลที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่มีปีติ กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีปีติ
โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ ปีติที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและปีติที่เกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๑๕๘] สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปีติและปีติที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปีติและปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปีติที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีปีติ ภวังคจิต
ที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ขันธ์ที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่ไม่มีปีติ มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งมีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่เป็นกิริยา ภวังคจิตที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ไม่มีปีติ กุศลและอกุศล
ที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีปีติ กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีปีติและปีติที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและ
ปีติที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๑๕๙] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีปีติและปีติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและปีติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๖๐] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีปีติ ให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่มีปีติ ทําฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ
อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มีปีติ ฯลฯ ปัญญา
ฯลฯ อภิญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ และปีติแล้ว
ให้ทานด้วยจิตที่ไม่มีปีติ ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
ศรัทธาที่ไม่มีปีติ ฯลฯ เสนาสนะและปีติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีปีติ ฯลฯ
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค ... ผลสมาบัติและ
ปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย
(อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง) ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีปีติแล้ว ให้ทาน
ด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ ออกจากฌานที่ไม่มีปีติ ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่
ไม่มีปีติ ฯลฯ เสนาสนะ และปีติแล้ว ให้ทาน ด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ลักทรัพย์ด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ
ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ ดักจี้
ในทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่ไม่มีปีติ ฯลฯ เสนาสนะและปีติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปีติ ฯลฯ ปัญญา
... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... มรรค
และผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง) ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีปีติแล้ว
ให้ทานด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มี
ปีติ ฯลฯ เสนาสนะ และปีติแล้ว ให้ทาน ด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
ลักทรัพย์ด้วยจิตที่มีปีติ ฯลฯ (เหมือนกับทุติยวาร) ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่ไม่มีปีติ
ฯลฯ เสนาสนะและปีติเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีปีติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ มรรค ...
ผลสมาบัติและปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย
(อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง) ได้แก่ ศรัทธาที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่
มีปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติและปีติเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่มีปีติและปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่มีปีติและปีติ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๖๑] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุด้วยจิตที่ไม่มี
ปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารถความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่มีปีติ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ ปีติจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีปีติ
และปีติโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ด้วยจิตที่ไม่
มีปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารถความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ด้วยจิตที่
ไม่มีปีติ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารถความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ปีติและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีปีติและปีติโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๖๒] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ

... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ

(พึงเพิ่มสหชาตะและนานาขณิกะ นานาขณิกะ มี ๒ วาระ)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

(ย่อ พึงเพิ่มให้เหมือนกับสวิตักกทุกะ)

... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๖๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๘๙. สัปปีติกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๖๔] สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๐. สุขสหคตทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
สภาวธรรมที่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๑๖๕] สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๑๖๖] สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีปีติโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีปีติและไม่มีปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย
(แม้การนับปัจจนียวิภังค์ ก็เหมือนกับสวิตักกทุกะ แม้ถ้ายังไม่สมกัน ก็พึง
พิจารณาเอาอนุโลมนี้นับเข้าไว้ด้วย พึงทำการนับ ๒ อย่างนอกนี้ด้วย)
สัปปีติกทุกะ จบ
๙๐. ปีติสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๖๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
(พึงขยายปีติสหคตทุกะให้พิสดารอย่างนี้ เหมือนกับสัปปีติกทุกะ ไม่มีข้อ
แตกต่างกัน การระบุความไม่แตกต่างกัน)
ปีติสหคตทุกะ จบ
๙๑. สุขสหคตทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๖๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สุขและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
(พึงขยายสุขสหคตทุกะให้พิสดาร เหมือนอนุโลมแห่งสัปปีติทุกะที่เป็น
ปฏิจจวาร)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๑๖๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) สุขและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขและไม่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ สุขและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุข อาศัยสภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่
สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยสุขที่ไม่
มีเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (ไม่มีข้อแตกต่างกัน
เหมือนกับนเหตุปัจจัย ในสัปปีติกทุกะ ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(โดยนัยนี้ การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และสหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร
ในปัจจยวารพึงขยายปวัตติกาล และปฏิสนธิกาลให้พิสดาร แม้ในปัจจนียะแห่ง
ปัจจยวารในสัปปีติกทุกะ ก็พึงขยายหทัยวัตถุในปวัตติกาลให้พิสดาร และใน
สัปปีติกทุกะ มีเฉพาะโมหะอย่างเดียวเท่านั้น พึงทําการนับ ๒ อย่างนอกนี้
นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารก็ฉันนั้น พึงทำให้เหมือนกับสัปปีติกทุกะ)
๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขโดยเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ (ในอารัมมณปัจจัยและอธิปติปัจจัย เหมือนกับ
สัปปีติกทุกะ คำว่าสุขเป็นข้อแตกต่างกัน)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๗๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์
ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่สหรคตด้วยสุข
ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
ภวังคจิตที่ไม่สหรคตด้วยสุข กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่ไม่สหรคตด้วยสุข กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขและสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุข
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
บทที่เป็นมูล มี ๓ วาระ เหมือนกับสัปปีติกทุกะ)
[๑๗๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขและไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขและสุข
ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขและสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่สุข
ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่สหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิตที่ไม่สหรคตด้วยสุข ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนจิต กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก
มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ
ที่เป็นกิริยา ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ไม่สหรคตด้วย
สุข กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยสุขและสุขเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่สหรคตด้วยสุข
กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่ม
บทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขและสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยสุขและสุขซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๗๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน
สมาทานศีล ด้วยจิตที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีลที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะและ
สุขแล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เสนาสนะและสุขเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ
ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค ... ผลสมาบัติ
และสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทานด้วย
จิตที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่
สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะและสุขแล้วให้ทานด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น ลักทรัพย์ด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด ฯลฯ พูด
เพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ
ดักจี้ในทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เสนาสนะและสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยสุข ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุข เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขและ
ไม่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทานด้วย
จิตที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ (เหมือนกับข้อความตอนที่ ๒ ) มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีลที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เสนาสนะและสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ลักทรัพย์ด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
เสนาสนะและสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา ...
สุขทางกาย ... มรรค ... ผลสมาบัติและสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขและไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๗๔] สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคต
ด้วยสุขโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุด้วยจิตที่ไม่
สหรคตด้วยสุข โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น สุขจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยสุข
และสุขโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
ปุเรชาตชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุด้วยจิตที่
สหรคตด้วยสุขโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขและ
ไม่สหรคตด้วยสุขโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุด้วยจิตที่
สหรคตด้วยสุข โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขและสุขโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)

... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจจัย มี ๙ วาระ

กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๗๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (กัมมปัจจัย
มี ๖ วาระ คือ พึงเพิ่มทั้งสหชาตะและนานาขณิกะ เป็น ๔ วาระ เพิ่มนานาขณิกะ
เป็น ๒ วาระ)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๑. สุขสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๗๖] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(โดยนัยนี้พึงทําปัจจนียวิภังค์ และการนับให้เป็นเหมือนกับสัปปีติกทุกะ แม้
หากยังมีความสงสัย พึงตรวจอนุโลมแล้วนับเถิด)
สุขสหคตทุกะ จบ
๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
อุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อุเบกขาและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อุเบกขาและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
อุเบกขาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น อุเบกขาอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (เหมือนกับสัปปีติกทุกะ ในอนุโลม มี ๙ วาระ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๗๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๗๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อุเบกขาและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อุเบกขาและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๓)
[๑๘๐] สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สหรคต
ด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยอุเบกขาที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น อุเบกขาอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป
๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุเบกขาที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ หทัยวัตถุอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัย
อุเบกขาที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรม
ที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขาที่ไม่มีเหตุเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุเบกขาที่ไม่มี
เหตุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
สัมปยุตตขันธ์อาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ อุเบกขาและสัมปยุตตขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๘๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา
และอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
และไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขา และอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ อุเบกขาอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขา
และอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยอุเบกขาเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
อุเบกขาและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ และ
อุเบกขาอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๘๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๘๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาทำสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
อุเบกขาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(เหมือนกับสวิตักกทุกะ ในปัจจยวาร ยังมีข้อแตกต่างกันในคำว่า อุเบกขา พึงเพิ่ม
เป็น ๙ วาระ มีทั้งปฏิสนธิกาล ปวัตติกาลและหทัยวัตถุ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๑๘๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาทำสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
สหรคตด้วยอุเบกขาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(โดยนัยนี้ จึงมี ๙ วาระ ทั้งปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล พึงทำเหมือนกับ
วาระแห่งสวิตักกทุกะ โมหะมีเพียง ๓ วาระเท่านั้น ในปวัตติกาลพึงเพิ่มหทัยวัตถุ)

นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทําอย่างนี้)
๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๘๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ทุกะนี้
พึงทําเหมือนกับสวิตักกทุกะ ที่เป็นสัมปยุตตวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
สหรคตด้วยอุเบกขา ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (โดยนัยนี้ พึงทําวาระทั้ง ๕
เหมือนในสวิตักกทุกะ)

นเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัยเป็นต้น
[๑๘๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ทั้ง ๔ วาระ เหมือนกับสวิตักกทุกะ)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย (อารัมมณปัจจัยและอธิปติปัจจัย
พึงขยายให้พิสดารเหมือนกับสัปปีติกทุกะ ต่างกันเฉพาะคำว่าอุเบกขา)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๘๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่อุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขา มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขา กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
และไม่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่ง
เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา และอุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๑๘๘] สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
อุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (พึง
เพิ่มบทที่เป็นมูล) อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติ-
จิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ภวังคจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต
กายวิญญาณธาตุเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่ง
ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา ภวังคจิตที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา กุศลและอกุศลที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
(๓)
[๑๘๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขา เป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์สหรคต
ด้วยอุเบกขาและอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่ง
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและ
อุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหรคตด้วยอุเบกขาและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา
อาวัชชนจิตและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา มโนธาตุที่เป็น
วิบากและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งไม่สหรคตด้วยอุเบกขา
ภวังคจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่ไม่สหรคตด้วย
อุเบกขา กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาและอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลและอุเบกขาเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธและอุเบกขา
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาและอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุเบกขาและอุเบกขาซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๑๙๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถด้วยจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ทําฌานที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น
มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ...
โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ และอุเบกขาแล้ว ให้ทาน
ด้วยจิตที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทํา
ลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ เสนาสนะและอุเบกขาเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ มรรค ... ผลสมาบัติและอุเบกขา
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย (อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง) ได้แก่ บุคคลอาศัย
ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาแล้ว ให้ทานด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
เสนาสนะ และอุเบกขาแล้ว ให้ทาน ด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลมีจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด
ฯลฯ พูดคําหยาบ ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ
ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ ดักจี้ในทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ
ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย (อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง
เหมือนกับข้อความตอนที่ ๒) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาและไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๑] สภาวธรรมที่ไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับสัปปีติกทุกะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๙๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ

(พึงเพิ่มสหชาตะ และนานาขณิกะ เป็น ๔ วาระ และเพิ่มนานาขณิกะ
เป็น ๒ วาระ)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(พึงจําแนกปัจจัยเหล่านี้ โดยนัยแห่งสัปปีติกทุกะ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๙๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๒. อุเปกขาสหคตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(ปัจจนียวิภังค์ และการนับ ๓ อย่างนอกนี้ พึงทําให้เหมือนกับสัปปีติกทุกะ
อย่างนี้)
อุเปกขาสหคตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๙๔] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจร
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
กามาวจรเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจร
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๙๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
กามาวจรเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๙๖] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่
เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็น
กามาวจรและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นกามาวจร และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็น
กามาวจรเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นกามาวจรและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
กามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกามาวจรและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรและอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๓) (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๙๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๙๘] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งเป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๑๙๙] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจร
เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
กามาวจรเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรและที่ไม่เป็น
กามาวจรเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
วิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจรและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒ วาระ
นอกนี้ เป็นไปตามปกติ)

... เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ
... เพราะนปุเรชาตปัจจัย
... เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

นอาเสวนปัจจัย
[๒๐๐] สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจร เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นกามาวจรอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ใน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๓. กามาวจรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นกามาวจรเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) (วาระที่เหลือ ๓ วาระ เป็นไปตามปกติ ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๐๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงเพิ่มการนับที่เหลือและสหชาตวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓๙ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น