Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๑๒ หน้า ๕๙๔ - ๖๔๗

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๑๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจาณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรคแล้วพิจารณามรรค ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน
มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ ทหัยวัตถุ และขันธ์ที่
ไม่เป็นอรูปาวจรให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๓] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอรูปาวจรซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอรูปาวจรซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่เป็นอรูปาวจร
ภวังคจิตที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ขันธ์ที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่ไม่เป็นอรูปาวจร เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๒๘๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อรูปาวจรโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอรูปาวจรซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอรูปาวจรซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัย
แก่โคตรภู ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอรูปาวจร
โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอรูปาวจรโดย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย บริกรรมอากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะโดย
อนันตรปัจจัย บริกรรมวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ
บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย
อนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๒๘๕] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย วิญญาณัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอรูปาวจรแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่ไม่เป็นอรูปาวจรให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่
เป็นอรูปาวจร ฯลฯ ปัญญาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
ศรัทธาที่เป็นอรูปาวจร ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่เป็นอรูปาวจร ฯลฯ
ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ...มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๒๘๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจร
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นอรูปาวจรแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาโบสถ ทําฌานที่ไม่เป็นอรูปาวจรให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่
เป็นอรูปาวจร ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย
ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่เป็นอรูปาวจร ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่เป็นอรูปาวจร ฯลฯ ความปรารถนา ... สุข
ทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมอากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากาสานัญ-
จายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัย
แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๒๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจร
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
ปุเรชาตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
ปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอรูปาวจรโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ

กัมมปัจจัย
[๒๘๘] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
กัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและขันธ์ที่
เป็นอรูปาวจรโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่เป็นอรูปาวจรเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (ย่อ) (๑)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๒๘๙] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยวิปากปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
วิปากปัจจัย (ย่อ)

... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๒๙๐] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจร
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอรูปาวจรโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๒๙๑] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่
เป็นอรูปาวจรโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
(ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
อัตถิปัจจัย มี อย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อรูปาวจรโดยอัตถิปัจจัย (๒)
[๒๙๒] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นอรูปาวจรโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอรูปาวจรและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอรูปาวจรและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอรูปาวจรและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๒๙๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๒๙๔] สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่
เป็นอรูปาวจรโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๒๙๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อรูปาวจรโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรโดย
อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอรูปาวจรโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจรและที่ไม่เป็นอรูปาวจรเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อรูปาวจรโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๙๖] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๕. อรูปาวจรทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๙๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๙๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

อรูปาวจรทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๙๖. ปริยาปันนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๒๙๙] สภาวธรรมที่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (พึงทําทุกะนี้ ให้เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปริยาปันนทุกะ จบ
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
[๓๐๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำ
ออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๐๑] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย
[๓๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัย
ขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนอารัมมณปัจจัยมี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๓๐๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ อาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
นําออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)

... เพราะนอนันตรปัจจัย
... เพราะนสมนันตรปัจจัย
... เพราะนอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ

นปุเรชาตปัจจัย
[๓๐๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ และอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๐๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทําอย่างนี้)
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๐๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์
ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๓๐๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออก
จากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุนํา
ออกจากวัฏฏทุกข์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์และทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๐๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๐๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจาก
วัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนํา
ออกจากจากวัฏฏทุกข์ทำขันธ์ที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออก
จากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุ กข์ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจาก
วัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ทำขันธ์ที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏ-
ทุกข์ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๑๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทําอย่างนี้)
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๑๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๑๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่ม
บทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๑๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค
แล้วพิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่ง
สมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๓๑๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
อธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุนำ
ออกจากวัฏฏทุกข์ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติ-
ปัจจัย (๓)
[๓๑๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
โวทาน ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานา-
สัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ
ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ตติยมรรคเป็น
ปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทําสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น
เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ มรรคของ
พระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย
มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๓๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่เป็นเหตุนำ
ออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย
ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นําออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๒๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ (พึงทําให้เหมือน
กับอรูปทุกะ) เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวน-
ปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจาก
วัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ผลโดย
กัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ
สหชาตะ (ย่อ)
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่ผล
โดยกัมมปัจจัย

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระเท่านั้น
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

(พึงทําให้เหมือนกับอรูปทุกะ)

... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ

(พึงทําให้เหมือนกับอรูปทุกะ การระบุข้อความแตกต่างกันเพียงบท
เท่านั้น)

... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๒๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปัจฉาชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่นําออกจาก
วัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๓๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นําออกจากวัฏฏทุกข์ โดยอุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ โดยสหชาตปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุนําออกจากวัฏฏทุกข์และที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉา-
ชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๗. นิยยานิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๒๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๒๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

นิยยานิกทุกะ จบ
๙๘. นิยตทุกะ ๑ - ๖. ปฏิจจวารเป็นต้น
[๓๒๙] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นอาศัยสภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (ย่อ
พึงทําเป็น ๕ วาระ ปฏิจจวาร สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร
และสัมยุตตวาร พึงทําเหมือนนิยยานิกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน การระบุข้อความ
แตกต่างกัน)
๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓๐] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ (เหมือนกับนิยยานิกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๓๑] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองนั้น โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค พิจารณากิเลสที่ให้ผลแน่นอนซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ
บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มี
ความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ให้ผลแน่นอนด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังส-
ญาณและอาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองนั้น โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะที่ให้ผลไม่แน่
นอนจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ให้ผลไม่
แน่นอนจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู โวทาน ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส
ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ
บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่
เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล
แน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอารัมมณปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม และ
โรหิตุปปาทกรรมโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนของ
บุคคลผู้ยึดมั่นหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและ
ให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๓๓๒] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลแน่นอน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองนั้นโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ให้
ผลไม่แน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๓๓๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
ทิฏฐิ ฯลฯ บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และผลโดยอธิปติปัจจัย
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้
ผลแน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๔] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย
อาการทั้งสองนั้นโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย
ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่
นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งเกิด
ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ผลเป็นปัจจัยแก่ผล
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธ
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้
ผลแน่นอนโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โทมนัสที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่โทมนัส
ที่ให้ผลแน่นอน มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่
นอนโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๓๕] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ มาตุฆาตกรรมเป็น
ปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม โรหิตุปปาทกรรม
สังฆเภทกรรม และนิยตมิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย)
ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ฯลฯ
ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองนั้นโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปลงชีวิตมารดาแล้ว ฯลฯ ทําลายสงฆ์
ประสงค์จะลบล้างกรรมชั่วนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ พระอริยะ
อาศัยมรรคแล้ว ทําสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ
เป็นปัจจัยแก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๓๓๖] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ให้ผลไม่แน่นอนแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ
สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ ปัญญา ...
ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ฯลฯ ศรัทธาที่
ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย และผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล
แน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนแล้ว ปลงชีวิตมารดา
ฯลฯ ทําลายสงฆ์อาศัยโทมนัสที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ เสนาสนะแล้วปลงชีวิตมารดา
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอน โทมนัส ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่
มาตุฆาตกรรม ฯลฯ สังฆเภทกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมมรรคเป็น
ปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๗] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณ-
ปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล
แน่นอนโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม โรหิตุปปาทกรรมโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

กัมมปัจจัย
[๓๓๘] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองนั้นโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน
โดยอาการทั้งสองนั้นโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

(เหมือนกับอรูปทุกะ)

... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ

(เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ )

... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๓๙] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๔๐] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน
โดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ
ทั้งสองนั้นโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่
แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๓๔๑] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล
แน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๔๒] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๔๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๔๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

นิยตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๙๙. สอุตตรทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๔๕] สภาวธรรมที่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอาศัยสภาวธรรมที่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่าเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึง
เพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อ
แตกต่างกัน)
สอุตตรทุกะ จบ
๑๐๐. สรณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๓๔๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(มี ๕ วาระ เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ และเหมือนกับปฏิจจวารฝ่ายอนุโลม)

เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาร
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑๐๐. สรณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยจตุกกนัย
[๓๔๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทําเหมือนกับ
ปัจจยวารแห่งอรูปาวจรทุกะ)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
[๓๔๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และ
ที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ นิสสยวาร และสังสัฏฐวาร พึงทำอย่างนี้ พึงเพิ่ม
เป็น ๒ วาระในที่ทุกแห่ง)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๔๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยเหตุปัจจัย (เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ มี ๔ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๕๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
เพราะปรารภโทมนัส โทมนัสจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้วพิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ โดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
[๓๕๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่ป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๓๕๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุร้องไห้
และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๓๕๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๓๕๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้โดยอนันตรปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๕๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้สัตว์ร้องไห้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ
ความปราถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ฯลฯ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ
สมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทํา
สมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๓๕๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้
เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๕๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้โดยปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ที่ป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)

... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

กัมมปัจจัย
[๓๕๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ (ย่อ) (๑)

... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร

... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

(เหมือนกับอรูปทุกะ)
อัตถิปัจจัย
[๓๖๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ) (๓)
[๓๖๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และกวฬิงการาหารที่เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๖๒] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๖๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์
ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๓๖๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
สัตว์ร้องไห้โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดย๑สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย๑
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้และที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้โดย๒สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหาร-
ปัจจัย และอินทรียปัจจัย๒ (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๖๕] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


เชิงอรรถ :
๑-๑ ฉบับฉัฏฐสังคีติ ปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย
๒-๒ ฉบับฉัฏฐสังคีติ สหชาตปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๑๐๐. สรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๖๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๖๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงถือตามบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

สรณทุกะ จบ
ปิฏฐิทุกะ จบ
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔๗ }

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔ จบ

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น