Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๐-๖ หน้า ๓๐๒ - ๓๖๒

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐-๖ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๗ ปัฏฐาน ภาค ๑



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย กับสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ (๑๔)

สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๔๕๘] ปัจจัย ๔ คือ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สหชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัญญมัญญสภาคนัย

[๔๕๙] เหตุปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๔)

อัญญมัญญฆฏนา (๖)
[๔๖๐] ปัจจัย ๕ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๖ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัญญมัญญะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อัญญมัญญมูลกนัย จบ
นิสสยสภาคนัย

[๔๖๑] เหตุปัจจัย กับนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๗)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นิสสยมิสสกฆฏนา (๖)
[๔๖๒] ปัจจัย ๓ คือ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ อธิปติ อัตถิ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ อธิปติ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปกิณณกฆฏนา (๔)
[๔๖๓] ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ อารัมมณะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ นิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๔๖๔] ปัจจัย ๔ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
นิสสยมูลกนัย จบ
อุปนิสสยสภาคนัย

[๔๖๕] อารัมมณปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
อนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (๑๓)

อุปนิสสยฆฏนา (๗)
[๔๖๖] ปัจจัย ๓ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ และอธิปติ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ นัตถิ และวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ อาเสวนะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๒ คือ อุปนิสสยะ และกัมมะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ กัมมะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ
อุปนิสสยมูลกนัย จบ
ปุเรชาตสภาคนัย

[๔๖๗] อารัมมณปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๘)

ปุเรชาตฆฏนา (๗)
[๔๖๘] ปัจจัย ๓ คือ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ ปุเรชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ปุเรชาตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ปุเรชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปุเรชาตมูลกนัย จบ
ปัจฉาชาตสภาคนัย

[๔๖๙] วิปปยุตตปัจจัย กับปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๓)

ปัจฉาชาตฆฏนา (๑)
[๔๗๐] ปัจจัย ๔ คือ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาเสวนสภาคนัย

[๔๗๑] อนันตรปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๕)

อาเสวนฆฏนา (๑)
[๔๗๒] ปัจจัย ๖ คือ อาเสวนะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ
และวิคตะ มี ๓ วาระ
อาเสวนมูลกนัย จบ
กัมมสภาคนัย

[๔๗๓] อนันตรปัจจัย กับกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๔)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปกิณณกฆฏนา (๒)
[๔๗๔] ปัจจัย ๒ คือ กัมมะ และอุปนิสสยะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ และวิคตะ
มี ๑ วาระ
สหชาตฆฏนา (๙)
[๔๗๕] ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
กัมมมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากสภาคนัย

[๔๗๖] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑ วาระ (๑๔)

วิปากฆฏนา (๕)
[๔๗๗] ปัจจัย ๕ คือ วิปากะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปากะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
วิปากมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารสภาคนัย

[๔๗๘] อธิปติปัจจัย กับอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๑)

อาหารมิสสกฆฏนา (๑)
[๔๗๙] ปัจจัย ๓ คือ อาหาระ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
สหชาตสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๘๐] ปัจจัย ๕ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สกัมมฆฏนา (๙)
[๔๘๑] ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ วิปากะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สอินทรียฆฏนา (๙)
[๔๘๒] ปัจจัย ๖ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๔๘๓] ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อาหารมูลกนัย จบ
อินทรียสภาคนัย

[๔๘๔] เหตุปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับอินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๔)

อินทรียมิสสกฆฏนา (๓)
[๔๘๕] ปัจจัย ๓ คือ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อินทรียะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อินทรียะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปกิณณกฆฏนา (๑)
[๔๘๖] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
สหชาตสามัญญฆฏนา (๙)
[๔๘๗] ปัจจัย ๕ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี
๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สมัคคฆฏนา (๙)
[๔๘๘] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สฌานฆฏนา (๙)
[๔๘๙] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สฌานมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๐] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สาหารฆฏนา (๙)
[๔๙๑] ปัจจัย ๖ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สาธิปติอาหารฆฏนา (๖)
[๔๙๒] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อาหาระ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อาหาระ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สาธิปติมัคคฆฏนา (๖)
[๔๙๓] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
สเหตุมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๔] ปัจจัย ๗ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สเหตุอธิปติมัคคฆฏนา (๖)
[๔๙๕] ปัจจัย ๘ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๙ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๑ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทรียะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
อินทรียมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ฌานสภาคนัย

[๔๙๖] สหชาตปัจจัย กับฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๐)

สามัญญฆฏนา (๙)
[๔๙๗] ปัจจัย ๕ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สอินทรียฆฏนา (๙)
[๔๙๘] ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมัคคฆฏนา (๙)
[๔๙๙] ปัจจัย ๖ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สอินทรียมัคคฆฏนา (๙)
[๕๐๐] ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ มัคคะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
มัคคะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
ฌานมูลกนัย จบ
มัคคสภาคนัย

[๕๐๑] เหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สัมปยุตตปัจจัย กับมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๑๒)
มัคคสามัญญฆฏนา (๙)
[๕๐๒] ปัจจัย ๕ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๗
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑
วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สอินทรียฆฏนา (๙)
[๕๐๓] ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สฌานฆฏนา (๙)
[๕๐๔] ปัจจัย ๖ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สอินทรียฌานฆฏนา (๙)
[๕๐๕] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ ฌานะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ ฌานะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ ฌานะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
ฌานะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๕๐๖] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
สเหตุอินทรียฆฏนา (๙)
[๕๐๗] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๔ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทรียะ
สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๔)
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
สเหตาธิปติอินทรียฆฏนา (๖)
[๕๐๘] ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๒ วาระ (อวิปากะ ๓)
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อินทรียะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๑๑ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทรียะ สัมปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ
อินทรียะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๓)
มัคคมูลกนัย จบ
สัมปยุตตสภาคนัย

[๕๐๙] เหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๓ วาระ (๑๓)

สัมปยุตตฆฏนา (๒)
[๕๑๐] ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๓ วาระ (อวิปากะ ๑)
ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๑)
สัมปยุตตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตสภาคนัย

[๕๑๑] เหตุปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๕ วาระ (๑๗)

วิปปยุตตมิสสกฆฏนา (๔)
[๕๑๒] ปัจจัย ๓ คือ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ อธิปติ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๔
วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกิณณกฆฏนา (๕)
[๕๑๓] ปัจจัย ๔ คือ วิปปยุตตะ ปัจฉาชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ วิปปยุตตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
สหชาตฆฏนา (๔)
[๕๑๔] ปัจจัย ๕ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๒)
ปัจจัย ๖ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ วิปปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อัตถิ และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๒)
วิปปยุตตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อัตถิสภาคนัย

[๕๑๕] เหตุปัจจัย กับอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๘)

อัตถิมิสสกฆฏนา (๑๑)
[๕๑๖] ปัจจัย ๒ คือ อัตถิ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อธิปติ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ อธิปติ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อาหาระ และอวิคตะ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ อินทรียะ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ นิสสยะ อินทรียะ และอวิคตะ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปกิณณกฆฏนา (๘)
[๕๑๗] ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อัตถิ ปุเรชาตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ อารัมมณะ ปุเรชาตะ และอวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อัตถิ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๕๑๘] ปัจจัย ๔ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ และอวิคตะ มี ๓
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ และ
อวิคตะ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และ
อวิคตะ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อัตถิ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ และอวิคตะ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อัตถิ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
และอวิคตะ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
อัตถิมูลกนัย จบ
นัตถิสภาคนัย

[๕๑๙] อนันตรปัจจัย กับนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นัตถิฆฏนา (๓)
[๕๒๐] ปัจจัย ๕ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ และวิคตะ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ และวิคตะ
มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ นัตถิ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ และวิคตะ
มี ๑ วาระ
นัตถิมูลกนัย จบ
วิคตสภาคนัย

[๕๒๑] อนันตรปัจจัย กับวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย " มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย " มี ๗ วาระ (๖)

วิคตฆฏนา (๓)
[๕๒๒] ปัจจัย ๕ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ และนัตถิ
มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ และ
นัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ วิคตะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ และนัตถิ
มี ๑ วาระ
วิคตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
อวิคตสภาคนัย

[๕๒๓] เหตุปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย " มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย " มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย " มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย " มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย " มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย " มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย " มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย " มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย " มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย " มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย " มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย " มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย " มี ๑๓ วาระ (๑๘)

อวิคตมิสสกฆฏนา (๑๑)
[๕๒๔] ปัจจัย ๒ คือ อวิคตะ และอัตถิ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๑๓ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อธิปติ และอัตถิ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ อธิปติ นิสสยะ และอัตถิ มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อาหาระ และอัตถิ มี ๗ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ อินทรียะ และอัตถิ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ และอัตถิ มี ๗ วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๕ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ อธิปติ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๔ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ นิสสยะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ
ปกิณณกฆฏนา (๘)
[๕๒๕] ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ ปัจฉาชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๓ คือ อวิคตะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ อารัมมณะ ปุเรชาตะ และอัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ อารัมมณะ นิสสยะ ปุเรชาตะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ และ
อัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๘ คือ อวิคตะ อารัมมณะ อธิปติ นิสสยะ อุปนิสสยะ ปุเรชาตะ
วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ นิสสยะ ปุเรชาตะ อินทรียะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ
สหชาตฆฏนา (๑๐)
[๕๒๖] ปัจจัย ๔ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๙ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ และอัตถิ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และอัตถิ มี ๓
วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปปยุตตะ และ
อัตถิ มี ๑ วาระ (อวิปากะ ๕)
ปัจจัย ๕ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
และอัตถิ มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อวิคตะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ และอัตถิ
มี ๑ วาระ
ปัจจัย ๗ คือ อวิคตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ
และอัตถิ มี ๑ วาระ (สวิปากะ ๕)
อวิคตมูลกนัย จบ
การนับอนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๕๒๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๕๒๘] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต
โดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๕๒๙] สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย
สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยอารัมมณ-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๕๓๐] สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นกุศล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สภาวธรรมที่เป็นกุศลและอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤต
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
[๕๓๑] สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอกุศล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัพยากฤต มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
ปัจจนียุทธารแห่งปัญหาวาร จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นเหตุทุกนัย

[๕๓๓] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ

ติกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นสมนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " " มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " " มี ๙ วาระ ฯลฯ

ฉักกนัย

นสหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
และนสมนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
สัตตกนัย
นอัญญมัญญปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯ ลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

อัฏฐกนัย

นนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย และนอัญญมัญญปัจจัย

มี ๑๑ วาระ

นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

นวกนัย

นอุปนิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย และ
นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

ทสกนัย

นปุเรชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย
นนิสสยปัจจัย และนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

เอกาทสกนัย

นปัจฉาชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นนิสสย-
ปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย และนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ

ทวาทสกนัย

นอาเสวนปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย ฯลฯ นปุเรชาตปัจจัย และนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ

นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ

จุททสกนัย

นวิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นปัจฉาชาตปัจจัย
นอาเสวนปัจจัย และนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

สัตตรสกนัย

นมัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย นวิปาก-
ปัจจัย นอาหารปัจจัย และนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ ฯลฯ

เอกวีสกนัย

โนวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอาหารปัจจัย
นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย
และโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ

โสฬสกนัย (สอินทรียะ)

นฌานปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย และนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุนเอกวีสกนัย
โนวิคตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย นอินทรียปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย
นวิปปยุตตปัจจัย และโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
นเหตุมูลกนัย จบ
นอารัมมณทุกนัย

[๕๓๔] นเหตุปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนอัตถิปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

สัตตกนัย
นอัญญมัญญปัจจัย กับนอารัมมณปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย
นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ

นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

(พึงขยายให้พิสดารเหมือนนเหตุมูลกนัย)
นอารัมมณมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๓๕] ... กับนอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย และนสมนันตรปัจจัย ...
(พึงขยายให้พิสดารเหมือนนเหตุมูลกนัย)
นสหชาตทุกนัย

[๕๓๖] นเหตุปัจจัย กับนสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
จตุกกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนสหชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ

... กับนสหชาตปัจจัยและนเหตุปัจจัย (ย่อ)
นสหชาตมูลกนัย จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร
นอัญญมัญญทุกนัย

[๕๓๗] นเหตุปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

อัฏฐกนัย

นนิสสยปัจจัย กับนอัญญมัญญปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติ-
ปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย และนสหชาตปัจจัย

มี ๑๑ วาระ

นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ (ย่อ)

นอัญญมัญญมูลกนัย จบ
นนิสสยทุกนัย

[๕๓๘] นเหตุปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย
มี ๑๑ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๑ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ ฯลฯ

ทสกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับนนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย
นอัญญมัญญปัจจัย และนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ

นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ)

นนิสสยมูลกนัย จบ
นอุปนิสสยทุกนัย

[๕๓๙] นเหตุปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย " มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย " มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย " มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย " มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนนัตถิปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย " มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย " มี ๙ วาระ ฯลฯ

จตุกกนัย

นอธิปติปัจจัย กับนอุปนิสสยปัจจัย นเหตุปัจจัย และนอารัมมณปัจจัย

มี ๑๓ วาระ

นอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๑๓ วาระ
โนอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ ฯลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า :๓๖๒ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น