Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๓๖-๒ หน้า ๔๐ - ๗๘

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๖-๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๓ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ



พระอภิธรรมปิฎก
ธาตุกถา
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๒. ทุตินัย] รวมบทธรรมในทุติยนัย ๔๒ บท
[๑๗๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๗๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๖
[๑๗๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เห็นได้ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๗๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่กระทบได้
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
รวมบทธรรมในทุติยนัย ๔๒ บท
อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๗ อินทรีย์ ๗ อสัญญาภพ ๑
เอกโวการภพ ๑ ปริเทวะ ๑ สนิทัสสนสัปปฏิฆะ ๑
อนิทัสสนสัปปฏิฆะ ๑ สนิทัสสนะ ๑ สัปปฏิฆะ ๑ อุปาทายรูป ๑
สังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทสที่ ๒ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
๓. ตติยนัย
๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๗๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับเวทนาขันธ์
สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ สมุทยสัจ มัคคสัจ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับนิโรธสัจ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับชีวิตินทรีย์ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับอิตถินทรีย์
ปุริสินทรีย์ สุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะ
เป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมี
เวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่
เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับชาติ ชรา
มรณะ ฌาน ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับโสกะ ทุกข์
โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เวทนา สัญญา
เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของอาสวะ
สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] ๓. อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๘๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็นโอฆะ สภาว-
ธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็นปรามาส
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่ระคนกับ
จิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิต
เป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๘๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรมที่
เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไปตามจิต ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์เหล่าไหนเลย แต่สงเคราะห์
เข้าได้กับอายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๙๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ แต่
สงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นอายตนะและธาตุกับสภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและเป็น
อารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้เศร้าหมอง
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๓. ตติยนัย] รวมบทธรรมในตติยนัย ๙๐ บท
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้น เว้นธาตุที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่งออกจากขันธ์แล้ว
สงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
รวมบทธรรมในตติยนัย ๙๐ บท
ขันธ์ ๓ สัจจะ ๓ อินทรีย์ ๑๖ ปัจจยาการ ๑๔ บท
ต่อจากปัจจยาการอีก ๑๔ บท
ในโคจฉกะ ๑๐ หมวด นับได้ ๓๐ บท
จากจูฬันตรทุกะ ๒ บท จากมหันตรทุกะ ๘ บท
อสังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทสที่ ๓ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๔. จตุตถนัย] ๔. สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
๔. จตุตถนัย
๔. สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทส
[๑๙๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดย
การสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๑๙๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ สุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์
โทมนัสสินทรีย์ อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์
สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์
อัญญาตาวินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอวิชชา สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย ผัสสะที่เกิด
เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย
อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทาน
เป็นปัจจัย โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕
โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ผัสสะ เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๔. จตุตถนัย] รวมบทธรรมในจตุตถนัย ๖๙ บท
โอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาส สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรม
ที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลส
ทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
รวมบทธรรมในจตุตถนัย ๖๙ บท
สัจจะ ๒ อินทรีย์ ๑๕ ปฏิจจสมุปบาท ๑๑
ต่อจากปฏิจจสมุปบาทอีก ๑๑ บท ในโคจฉกะอีก ๓๐ บท
สังคหิเตนสังคหิตปทนิทเทสที่ ๔ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
๕. ปัญจมนัย
๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
[๑๙๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับรูปขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๙๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๑๙๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับวิญญาณขันธ์ มนายตนะ จักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ
มโนวิญญาณธาตุ มนินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๑๙๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ จักขุธาตุ ฯลฯ
โผฏฐัพพธาตุ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๑๙๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับธัมมายตนะ ธัมมธาตุ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๑๙๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสมุทยสัจ มัคคสัจ นิโรธสัจ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๑๙๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๒๐๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสุขินทรีย์ ทุกขินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ โทมนัสสินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์
อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา
สังขารที่เกิดเพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับวิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๒๐๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับนามรูปที่เกิดเพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๗
[๒๐๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสฬายตนะที่เกิดเพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
[๒๐๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย เวทนาที่เกิดเพราะ
มีผัสสะเป็นปัจจัย ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่
เกิดเพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอรูปภพ เนวสัญญานาสัญญาภพ จตุโวการภพ อิทธิบาท
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๐๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับอสัญญาภพ เอกโวการภพ ชาติ ชรา มรณะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๒๐๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับปริเทวะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และธาตุ ๘
[๒๐๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับโสกะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน
ฌาน อัปปมัญญา อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา อธิโมกข์ มนสิการ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๐๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
๑. ติกะ
[๒๑๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศล สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สภาวธรรมที่เป็นวิบาก สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้า
หมองและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๑. ติกะ
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน สภาว-
ธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล สภาวธรรม
ที่เป็นมหัคคตะ สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมที่มีปริตตะ
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มี
อัปปมาณะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมชั้นประณีต สภาว-
ธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้
ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็น
เหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดี สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรม
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่
มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตนและภาย
นอกตนเป็นอารมณ์
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่
กระทบได้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
๒. ทุกะ
[๒๑๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ
สภาวธรรมที่เป็นเหตุและสัมปยุตด้วยเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ สภาวธรรม
ที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัย
ปรุงแต่ง
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ และ
ธาตุ ๘
[๒๑๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นรูป
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๗
[๒๑๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นรูป สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๑๘] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็น
อารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๑๙] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอาสวะ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะ สภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะและไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๒๐] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาว-
ธรรมที่เป็นโอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
สภาวธรรมที่เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์
ของปรามาส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๑] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์
ของปรามาส สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐
[๒๒๒] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิต
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่เป็นไป
ตามจิต สภาวธรรมที่เป็นภายนอก สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๗
[๒๒๓] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๔ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๑
[๒๒๔] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
สภาวธรรมที่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน
สภาวธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาว-
ธรรมที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิต
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๕] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นภายในตน
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] ๕. อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทส ๒. ทุกะ
[๒๒๖] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาว-
ธรรมที่เป็นกิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและ
กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลส
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๒ อายตนะ ๑๑ และ
ธาตุ ๑๗
[๒๒๗] สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส สภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลส
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลสและไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรม
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วย
มรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีวิตก
สภาวธรรมที่มีวิจาร สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็น
อรูปาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
นำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่ไม่มี
ธรรมอื่นยิ่งกว่า สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้
สภาวธรรมเหล่าใดสงเคราะห์เข้าไม่ได้โดยการสงเคราะห์เป็นขันธ์ อายตนะ
และธาตุกับสภาวธรรมเหล่านั้น
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
สภาวธรรมเหล่านั้นสงเคราะห์เข้าไม่ได้กับขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ และ
ธาตุ ๑๐

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๕. ปัญจมนัย] รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท
รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๒ บท๑
รูป ๑ ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑
อิตถินทรีย์ ๑ ปุริสินทรีย์ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
นามรูป ๑ ภพ ๒ (อสัญญีภพและเอกโวการภพ)
ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑ บทที่เป็นรูป ๑ อนารัมมณบท ๑
โนจิตตบท ๑ จิตตวิปปยุตตบท ๑
จิตตวิสังสัฏฐบท ๑ จิตตสมุฏฐานบท ๑ จิตตสหภูบท ๑
จิตตานุปริวัตติบท ๑ พาหิรบท ๑ อุปาทาบท ๑
นัย ๒๒ บทนี้เป็นวิสัยแห่งปุจฉาและวิสัชนา
อสังคหิเตนอสังคหิตปทนิทเทสที่ ๕ จบ

เชิงอรรถ :
๑ ในอรรถกถาได้แสดงอุททานคาถาไว้โดยสมบูรณ์ดังนี้ :-
รวมบทธรรมในปัญจมนัย ๒๕๗ บท
ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๓
อินทรีย์ ๒๒ ปฏิจจสมุปบาท ๒๓
ต่อจากปฏิจจสมุปบาท ๑๖ ในติกะ ๔๓ บท
ในโคจฉกะ ๗๒ บท ในจูฬันตรทุกะ ๗
ในมหันตรทุกะ ๑๘ ปิฏฐิทุกะ ๑๘
พึงทราบว่าที่เหลือท่านไม่กล่าวไว้ ณ ที่นี้ (อภิ.ปญฺจ.อ. ๑๙๓/๑๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๒. อายตนะ
๖. ฉัฏฐนัย
๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส
๑. ขันธ์
[๒๒๘] รูปขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๒๙] เวทนาขันธ์ ฯลฯ สัญญาขันธ์ ฯลฯ สังขารขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๐] วิญญาณขันธ์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

๒. อายตนะ
[๒๓๑] จักขายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๒] มนายตนะสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
๓. ธาตุ
[๒๓๓] จักขุธาตุ ฯลฯ โผฏฐัพพธาตุสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๔] จักขุวิญญาณธาตุ ฯลฯ มโนธาตุ ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๓๕] สมุทยสัจ ฯลฯ มัคคสัจสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑
และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๖] นิโรธสัจ ฯลฯ จักขุนทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ฯลฯ
ปุริสินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๗] มนินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๘] สุขินทรีย์ ฯลฯ ทุกขินทรีย์ ฯลฯ โสมนัสสินทรีย์ ฯลฯ โทมนัสสินทรีย์
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๓๙] อุเปกขินทรีย์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๖ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๔๐] สัทธินทรีย์ ฯลฯ วิริยินทรีย์ ฯลฯ สตินทรีย์ ฯลฯ สมาธินทรีย์ ฯลฯ
ปัญญินทรีย์ ฯลฯ อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ ฯลฯ อัญญินทรีย์
ฯลฯ อัญญาตาวินทรีย์ ฯลฯ อวิชชา ฯลฯ สังขารที่เกิดเพราะมี
อวิชชาเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๑] วิญญาณที่เกิดเพราะมีสังขารเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๒] ผัสสะที่เกิดเพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๓] เวทนาที่เกิดเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
[๒๔๔] ตัณหาที่เกิดเพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย อุปาทานที่เกิดเพราะมีตัณหาเป็น
ปัจจัย กัมมภพที่เกิดเพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัยสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๕] รูปภพสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๓
[๒๔๖] อรูปภพ ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญาภพ ฯลฯ จตุโวการภพสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๗] อสัญญาภพ ฯลฯ เอกโวการภพ ฯลฯ ปริเทวะสัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๘] โสกะ ฯลฯ ทุกข์ ฯลฯ โทมนัสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๔. สภาวธรรมมีสัจจะเป็นต้น
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๔๙] อุปายาส ฯลฯ สติปัฏฐาน ฯลฯ สัมมัปปธานสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๐] อิทธิบาทสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๑] ฌานสัมปยุตด้วยขันธ์ ๒ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๒] อัปปมัญญา ฯลฯ อินทรีย์ ๕ ฯลฯ พละ ๕ ฯลฯ โพชฌงค์ ๗ ฯลฯ
อริยมรรคมีองค์ ๘ สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
[๒๕๓] ผัสสะ ฯลฯ เจตนา ฯลฯ มนสิการสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑
ธาตุ ๗ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๔] เวทนา ฯลฯ สัญญาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และ
สัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๕] จิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๖] อธิโมกข์สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๒ และสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
๕. ติกะ
[๒๕๗] สภาวธรรมที่เป็นกุศล สภาวธรรมที่เป็นอกุศลสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๕๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุต
ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๐] สภาวธรรมที่เป็นวิบากสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
และเป็นอารมณ์ของกิเลส สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
[๒๖๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก สภาวธรรมที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๒๖๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทาน สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองแต่เป็นอารมณ์
ของกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๖๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจาก
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติสัมปยุต
ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจาก
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๒๖๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๖๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพาน สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคล สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ สภาวธรรมชั้นประณีตสัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๕. ติกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๗๑] สภาวธรรมที่มีปริตตะเป็นอารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๒] สภาวธรรมที่มีมหัคคตะเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอัปปมาณะเป็นอารมณ์
สภาวธรรมชั้นต่ำ สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอน สภาว-
ธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอน สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอารมณ์
สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นเหตุ สภาวธรรมที่มีมรรคเป็นอธิบดีสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๓] สภาวธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕
[๒๗๔] สภาวธรรมที่มีอดีตธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีอนาคตธรรมเป็น
อารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๕] สภาวธรรมที่มีปัจจุบันธรรมเป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายในตน
เป็นอารมณ์ สภาวธรรมที่มีธรรมภายนอกตนเป็นอารมณ์ สภาวธรรม
ที่มีธรรมภายในตนและภายนอกตนเป็นอารมณ์สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๖] สภาวธรรมที่เห็นได้และกระทบได้ สภาวธรรมที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
๖. ทุกะ
[๒๗๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่เป็นเหตุและมีเหตุ สภาวธรรมที่เป็น
เหตุและสัมปยุตด้วยเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และ
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๗๘] สภาวธรรมที่มีเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๗๙] สภาวธรรมที่มีเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุแต่ไม่เป็นเหตุ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุแต่มีเหตุสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๐] สภาวธรรมที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง
สภาวธรรมที่เห็นได้ สภาวธรรมที่กระทบได้ สภาวธรรมที่เป็นรูปสัมปยุต
ด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๑] สภาวธรรมที่เป็นโลกุตตระสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๘๒] สภาวธรรมที่เป็นอาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและเป็นอารมณ์ของ
อาสวะ สภาวธรรมที่เป็นอาสวะและสัมปยุตด้วยอาสวะสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอาสวะ
และไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอาสวะแต่ไม่เป็นอาสวะสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๘๖] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์ สภาวธรรมที่เป็นคันถะ สภาวธรรมที่เป็น
โอฆะ สภาวธรรมที่เป็นโยคะ สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ สภาวธรรมที่
เป็นปรามาส สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาส
สัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของปรามาส สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และ
ธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๘๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และ
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๘๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๐] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต สภาวธรรม
ที่ไม่ระคนกับจิต สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๔ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๑] สภาวธรรมที่เป็นจิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๓ และสัมปยุตด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๒] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต สภาวธรรมที่
ระคนกับจิต สภาวธรรมที่ระคนกับจิตและมีจิตเป็นสมุฏฐาน สภาวธรรม
ที่ระคนกับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเกิดพร้อมกับจิต สภาวธรรมที่ระคน
กับจิตมีจิตเป็นสมุฏฐานและเป็นไปตามจิตสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
และธาตุ ๗
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๐ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือสัมปยุตด้วย
ขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๕

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทาน สภาวธรรมที่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสและเป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและกิเลสทำให้
เศร้าหมอง สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและสัมปยุตด้วยกิเลสสัมปยุตด้วย
ขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอารมณ์ของกิเลส สภาวธรรมที่วิปปยุตจากกิเลส
และไม่เป็นอารมณ์ของกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๒๙๖] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยกิเลส
สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๗] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองแต่ไม่เป็นกิเลส สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยกิเลสแต่ไม่เป็นกิเลสสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ และธาตุ ๑
บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๒๙๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค สภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค
สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ สัมปยุตด้วยขันธ์
อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๒๙๙] สภาวธรรมที่มีวิตก สภาวธรรมที่มีวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑
และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก สภาวธรรมที่ไม่มีวิจารสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ
และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๑
[๓๐๑] สภาวธรรมที่มีปีติ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ และธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] ๖. สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทส ๖. ทุกะ
[๓๐๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๕ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาสัมปยุตด้วยขันธ์ ๑ และสัมปยุตด้วย
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางส่วน
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๑ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน
[๓๐๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกามาวจร สภาวธรรมที่ไม่นับเนื่องในวัฏฏทุกข์
สภาวธรรมที่ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าสัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุ
เท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีขันธ์และอายตนะเหล่าไหนที่จะวิปปยุต แต่วิปปยุตจากธาตุ ๖
[๓๐๕] สภาวธรรมที่เป็นรูปาวจร สภาวธรรมที่เป็นอรูปาวจร สภาวธรรมที่
เป็นเหตุนำออกจากวัฏฏทุกข์ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้สัตว์ร้องไห้สัมปยุตด้วยขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
ไม่มีการสัมปยุต
วิปปยุตจากขันธ์ อายตนะ และธาตุเท่าไร
วิปปยุตจากขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และวิปปยุตจากอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางส่วน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา [๖. ฉัฏฐนัย] รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในฉัฏฐนัย ๑๒๓ บท
รวมบทธรรมที่ไม่ได้ในฉัฏฐนัย ๑๒๓ บท
ธัมมายตนะ ๑ ธัมมธาตุ ๑ ทุกขสัจ ๑ ชีวิตินทรีย์ ๑
สฬายตนะ ๑ นามรูป ๑ ภพใหญ่ ๔ ชาติ ๑ ชรา ๑ มรณะ ๑
ในติกะ ๑๙ บท ในโคจฉกะ ๕๐ บท ในจูฬันตรทุกะ ๘ บท
ในมหันตรทุกะ ๑๕ บท ต่อจากนั้นอีก ๑๘ บท
บทธรรม ๑๒๓ บทนี้ไม่ได้ในฉัฏฐนัย
สัมปโยควิปปโยคปทนิทเทสที่ ๖ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๖ หน้า :๗๘ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น