Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๗ หน้า ๓๒๒ - ๓๗๕

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๗ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์
แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์เป็นอารมณ์ของสังโยชน์และที่เป็น
อารมณ์ของสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของ
สังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์และอาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
(เหมือนกับปฐมทุกะในสัญโญชนโคจฉกะ)
(พึงขยายทุกะให้พิสดารอย่างนี้ ไม่มีข้อแตกต่างกัน ยกเว้นแต่โลกุตตระ)
สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ จบ
๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์
และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์
อาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่
เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์ และสัมปยุตตขันธ์อาศัย
กามราคสังโยชน์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๑๐๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์อาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่
เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และสังโยชน์อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่
ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์อาศัยกามราคสังโยชน์และ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็น
สังโยชน์และอาศัยสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่
เป็นสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วย
สังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสังโยชน์
และอวิชชาสังโยชน์อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์และอาศัย
กามราคสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชาสังโยชน์
อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
สังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชาสังโยชน์อาศัยวิจิกิจฉาสังโยชน์และสัมปยุตตขันธ์
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๕] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และสหชาตวาร พึงทำอย่างนี้ ปัจจยวาร นิสสยวาร
สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร)
๒๔. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ
๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ กามราคสังโยชน์
เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสังโยชน์และอวิชชาสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ สังโยชน์และเหตุที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ กามราคสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐิสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์
และสัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะ
ปรารภสังโยชน์ สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภสังโยชน์
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภสังโยชน์ ขันธ์ที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็น
สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์
ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์ สังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์
ขันธ์ที่เป็นสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่
เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดย
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๑๐๘] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ
(ในวาระทั้ง ๓ นี้ พึงเพิ่มอารัมมณาธิปติปัจจัยและสหชาตาธิปติปัจจัย)
สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์สัมปยุตด้วยสังโยชน์และที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่
ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ (ไม่มี
ข้อแตกต่างกัน ไม่มีการจำแนกไว้ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย) เป็นปัจจัยโดย
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงเพิ่มตามนัยแห่งอารัมมณปัจจัย)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสังโยชน์แต่ไม่เป็นสังโยชน์โดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๑] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๔.สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นสังโยชน์และสัมปยุตด้วยสังโยชน์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ พึงทำเป็น ๙ วาระอย่างนี้ พึงเปลี่ยนได้แต่เฉพาะในบท
ทั้ง ๓ ไม่มีนานาขณิกะ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๕. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลม) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ จบ
๒๕. สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
[๑๑๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์แต่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัย
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์แต่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากสังโยชน์แต่เป็น
อารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึง
เพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหมและมหาภูตรูป)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์อาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากสังโยชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากสังโยชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
... อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากสังโยชน์และไม่เป็นอารมณ์ของสังโยชน์ ฯลฯ
(พึงเพิ่มเป็น ๒ วาระ)
(ทุกะนี้เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยทุกะ จบ
สัญโญชนโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๕. คันถโคจฉกะ
๒๖. คันถทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ อภิชฌากายคันถะอาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น สีลัพพต-
ปรามาสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น อภิชฌากายคันถะอาศัย
อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะเกิดขึ้น อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌา-
กายคันถะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
สีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ คันถะอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ คันถะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
คันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะอาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ
และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะ
และอาศัยคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะ
และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่
เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะและสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
(พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ)
เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
คันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น
(ย่อ)

... เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
... เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
... เพราะนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
... เพราะนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
... เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ อภิชฌากายคันถะอาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ
เกิดขึ้น อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น (ในอรูปาวจรภูมิ
ไม่มีสีลัพพตปรามาส พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ อย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
เพราะนอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
เพราะนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
เพราะนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ พึงนับอย่างนี้)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๒๖. คันถทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ คันถะทำขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น คันถะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ คันถะและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ คันถะและสัมปยุตตขันธ์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะทำสีลัพพตปรามาส-
กายคันถะและสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) อภิชฌากาย-
คันถะทำสีลัพพตปรามาสกายคันถะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็น
จักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
ไม่เป็นคันถะและทำคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่
เป็นคันถะทำคันถะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็น
คันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะและ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะและทำสีลัพพตปรามาสกายคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) อภิชฌากายคันถะและ
สัมปยุตตขันธ์ทำสีลัพพตปรามาสกายคันถะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึง
ผูกเป็นจักกนัย) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๓] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่
เป็นคันถะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวารนั่นเอง พึงเพิ่มสังสัฏฐวารและสัมปยุตตวาร
เป็น ๙ วาระ ไม่มีรูป)
๒๖. คันถทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ คันถะ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ คันถะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะ
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะ
และที่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ คันถะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภคันถะ คันถะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะ
ปรารภคันถะ ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
คันถะ คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศล
นั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระ
อริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นคันถะซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้
กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นคันถะ
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์
ที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว
ยินดีเพลิดเพลินฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิด
เพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น คันถะและสัมปยุตตขันธ์
จึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจาฌานแล้วยินดีเพลิด
เพลินฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินฌานเป็นต้นนั้น คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภด้วย)
อธิปติปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย พึงทำให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจาก
มรรค ฯลฯ พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน
มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ
จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่คันถะโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็น
คันถะโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่เป็น
คันถะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
คันถะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
คันถะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ คันถะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ คันถะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
คันถะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ คันถะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่คันถะและสัมปยุตตขันธ์ที่
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มอาวัชชนจิตทั้ง ๒ ไม่มีนัยที่ ๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มวุฏฐานะอย่างเดียว ในท่ามกลางก็พึงเพิ่ม)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ คันถะเป็นปัจจัยแก่คันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือ
ทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่คันถะและสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มไว้ตามนัยแห่งอารัมมณปัจจัย)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะ
โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่คันถะโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่คันถะและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย
มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ คันถะ
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่คันถะโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็น
คันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่คันถะและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
คันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
อัตถิปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ คันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ คันถะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่คันถะโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึง
เกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่คันถะโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็น
คันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ คันถะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่คันถะและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ สีลัพพตปรามาสกายคันถะและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่
อภิชฌากายคันถะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ สีลัพพตปรามาสกายคันถะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
อภิชฌากายคันถะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะและคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ คันถะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นคันถะโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ คันถะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ คันถะและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ คันถะและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ คันถะและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
อัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะ
และที่ไม่เป็นคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นคันถะและสีลัพพตปรามาสกายคันถะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (พึง
ผูกเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ สีลัพพตปรามาสกายคันถะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
อภิชฌากายคันถะและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๖.คันถทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและที่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะ
และที่ไม่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๑] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๗. คันถนิยทุกะ ๑-๗. วารสัตตกนัย
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๔๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นมัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมให้บริบูรณ์)
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
คันถทุกะ จบ
๒๗. คันถนิยทุกะ ๑-๗. วารสัตตกนัย
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของ
คันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของคันถะ (ย่อ)
(พึงจำแนกเหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
คันถนิยทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒๘. คันถสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้น
โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น
ปฏิฆะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓
โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ปฏิฆะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะ
ที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ... (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น
สัมปยุตตขันธ์อาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากคันถะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ปฏิฆะเกิดขึ้น (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและอาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่
วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยคันถะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยโทมนัสและอาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัย
โลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยโทมนัสและอาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ โลภะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิเกิดขึ้น ปฏิฆะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโลภะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ และปฏิฆะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
[๔๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากคันถะ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเกิดขึ้น
สัมปยุตตขันธ์อาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่
วิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและอาศัยโลภะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและอาศัยปฏิฆะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่
เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๒] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ

(นปุเรชาตปัจจัย เมื่อจะจำแนก พึงจัดอรูปไว้ก่อน พึงจัดรูปไว้ในที่ที่มีได้ใน
ภายหลัง ส่วนในอรูปไม่มีปฏิฆะ)

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงนับอย่างนี้ ย่อ)
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(แม้สหชาตวารก็พึงทำอย่างนี้)
๒๘. คันถสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากคันถะ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์ทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สัมปยุตตขันธ์
ทำปฏิฆะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะทำสภาวธรรมที่วิปปยุต
จากคันถะให้เป็นป้จจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำปฏิฆะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
ทิฏฐิและโลภะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่
วิปปยุตจากคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สัมปยุตด้วยคันถะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิทำหทัยวัตถุและโลภะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
โทมนัสทำหทัยวัตถุและปฏิฆะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุต
จากคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยคันถะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและทำปฏิฆะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โลภะทำ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โลภะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ปฏิฆะทำ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะทำสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
จากทิฏฐิและทำโลภะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ ๑ และปฏิฆะที่สหรคตด้วยโทมนัสเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโลภะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และ
ปฏิฆะทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากคันถะ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุ-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
วิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากคันถะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๖๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๒๘. คันถสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะ
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โลภะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิ ปฏิฆะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัส (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และโลภะเกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓
และปฏิฆะเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
[๖๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากคันถะ
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับโลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับปฏิฆะ (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและ
ที่วิปปยุตจากคันถะเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและเกิดระคนกับโลภะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและเกิดระคนกับปฏิฆะ
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๔] เหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๖ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากคันถะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิด
ระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๖๖] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๖๗] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ

(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๒๘. คันถสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่โลภะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุ
ที่สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ปฏิฆะ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่ง
วิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคต
ด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
และโลภะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโทมนัสและ
ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย เหตุที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะ ขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น (แม้ในวาระทั้ง ๓ ก็พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะ ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยคันถะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้วพิจารณา
ฌาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่วิปปยุตจากคันถะซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะ
โลภะและปฏิฆะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่วิปปยุตจากคันถะด้วย
เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย
อารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะที่สัมปยุต
ด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสจึงเกิดขึ้น (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและ
ที่วิปปยุตจากคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะ โลภะ และปฏิฆะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะ ขันธ์ที่
วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะจึง
เกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
เป็นปัจจัยแก่โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วย
โทมนัสเป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่
สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ปฏิฆะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๓)
[๗๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
คันถะและโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน
แล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
จากคันถะ และโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะทำจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะและโลภะให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะ
ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะทำขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โลภะที่วิปปยุต
จากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ และโลภะโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดหลัง ๆ และปฏิฆะโดยอนันตร-
ปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ปฏิฆะที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ปฏิฆะที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ปฏิฆะที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ และ
โลภะโดยอนันตรปัจจัย ปฏิฆะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัส
ซึ่งเกิดหลัง ๆ และปฏิฆะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดย
อนันตรปัจจัย (๓)
[๘๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ และโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่ง
วิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิด
ก่อน ๆ และปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตร-
ปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ
และโลภะเป็นปัจจัยแก่โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดก่อน ๆ และปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะที่เกิดหลัง ๆ โดย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ และโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ และโลภะโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโทมนัสซึ่งเกิดก่อน ๆ และปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัส
ซึ่งเกิดหลัง ๆ และปฏิฆะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยสมนันตรปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย และนิสสยปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล พึงจัดอุปนิสสยปัจจัยไว้ทั้ง ๓ วาระ)
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล พึงจัดอุปนิสสยปัจจัยไว้ทั้ง ๓ วาระ) ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ มานะ ... ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ... โทสะ
... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงจัดอุปนิสสยปัจจัยไว้ทั้ง ๓ วาระ)
บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ
... มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ...
ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากคันถะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โทมนัสและปฏิฆะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๘๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะที่วิปปยุตจากคันถะจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
คันถะ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิและปฏิฆะโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยคันถะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะจึง
เกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่ง
วิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากคันถะโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอาเสวนปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย ไม่มีทั้งอาวัชชนจิตและ
วุฏฐานะ)
กัมมปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่โลภะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ปฏิฆะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๘๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๙๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๙๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ พึง
จำแนกไว้) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยคันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
[๙๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะ
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๕ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น