Google Analytics 4




เล่มที่ ๔๑-๓ หน้า ๑๑๓ - ๑๖๗

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑-๓ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลินเพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตก
วิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึง
เกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย (๕)
[๑๓๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตก
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และวิตกโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิตกโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๓๔] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูต-
รูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๑๓๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๓๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตก
วิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๑๓๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย (นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย เหมือน
กับอนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัยเหมือนกับอัตถิปัจจัย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๘] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตปัจจัย มี ๓๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒๘ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓๐ วาระ

(ฆฏนาก็เหมือนกับกุสลติกะ ผู้รู้พึงนับปัญหาวารอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ
วิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๖)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี
วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๗)
[๑๔๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก
มีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๔๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง
วิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง
วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๕)
[๑๔๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มี
ทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง
วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๔)
[๑๔๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปุเรชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕)
[๑๔๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ (๒)
ปัจจนียุทธาร จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๕] นเหตุปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๓๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๗ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๒๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๗ วาระ

(ผู้รู้ เมื่อจะนับปัจจนียะ พึงนับบทเหล่านี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๔๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ

(การนับอนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยเหตุนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๔๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๒๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒๘ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ

(พึงจําแนกปัจจนียานุโลมโดยเหตุนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
วิตักกติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ในปฏิสนธิขณะไม่มี) เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสย-
ปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ปุเรชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
ไม่มี) เพราะอาเสวนปัจจัย (ในอาเสวนปัจจัย วิบากไม่มี) เพราะกัมมปัจจัย
เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย
เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย
เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕] เหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ
(การนับอนุโลม พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วย ปีติเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๓)
[๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
[๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย (นอธิปติปัจจัยบริบูรณ์แล้วในปฏิสนธิขณะ) เพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย (พึงกําหนดคําว่า ในอรูป และคําว่า ในปฏิสนธิขณะ ไว้ด้วย) เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
นกัมมปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
เกิดขึ้น
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยสุขอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
(ด้วยเหตุนี้พึงขยายวาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดาร)
นวิปากปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ (บริบูรณ์แล้ว ไม่มีปฏิสนธิ)
นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขและที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยสภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
(เพราะนมัคคปัจจัยเหมือนกับนเหตุปัจจัย โมหะจึงไม่มีเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
บริบูรณ์แล้ว จึงมีแต่อรูปปัญหาเท่านั้น)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

(พึงทําปัจจนียะให้บริบูรณ์)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
ทุกนัย

[๑๕] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

(พึงนับอนุโลมปัจจนียะโดยพิสดาร)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
ทุกนัย

[๑๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
] กัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ

มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ
ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร เหมือนกับ
ปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ซึ่งสหรคตด้วย
สุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ฯลฯ (สภาวธรรมที่มีสุขเป็นมูลมี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ พระ
อริยะมีจิตสหรคตด้วยปีติพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิด
ขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออก
จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยสุข พระ
อริยะมีจิตสหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิด
ขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากฌานที่สหรคตด้วย
ปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วย
อุเบกขา พระอริยะมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้
แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขา
เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยอุเบกขา
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาฌาน
เป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข พระอริยะมีจิตสหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยปีติซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
[๒๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุข ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากฌานที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌานเป็นต้นนั้นด้วยจิต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
ที่สหรคตด้วยอุเบกขา พระอริยะมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วย
อุเบกขาซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคต
ด้วยอุเบกขาเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่
สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาด้วย เจโต-
ปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะโดยอารัมมณปัจจัย
ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ออกจากฌานที่สหรคตด้วยอุเบกขา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาฌาน
เป็นต้นนั้นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข พระอริยะมีจิตสหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขพิจารณากิเลสที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งละได้แล้ว พิจารณา
กิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขเห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขจึงเกิดขึ้น (๔)
[๒๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ แก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและ
สหรคตด้วยสุขให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ บุคคลมีจิตสหรคตด้วย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุเบกขา เห็นแจ้งขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ
จึงเกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย (ย่อ) (๔)
อธิปติปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ ให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สหรคต
ด้วยปีติ ออกจากฌานที่สหรคตด้วยปีติ ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณา
ฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สหรคตด้วยปีติ บุคคลมีจิต
สหรคตด้วยปีติยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สหรคต
ด้วยปีติจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ ให้ทาน ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติ
ให้ทาน ฯลฯ ด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติให้ทาน ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๒๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุข ให้ทาน ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๒๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๔)
[๒๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ
ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอธิปติปัจจัย (๔)
อนันตรปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูโดยอนันตรปัจจัย (ด้วยเหตุนี้พึงแสดงว่าเป็นปัจจัยแก่บททั้งปวง) อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค
เป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วย
ปีติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
โวทานที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ผล
สมาบัติที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย
อนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มโน-
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยปีติ
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)
[๒๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคต
ด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดย
อนันตรปัจจัย กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดย
อนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโน-
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่
ภวังคจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)
[๒๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณ ๔ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
ที่สหรคตด้วยอุเบกขา เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคต
ด้วยปีติ ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ มโนธาตุที่เป็น
วิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ภวังคจิตที่
สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ กุศลและอกุศล
ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยปีติ กิริยาเป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจาก
นิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตร-
ปัจจัย (๔)
(อนึ่ง พึงกําหนดข้อความเหล่านี้เท่านั้นเป็นหลัก)
[๒๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ แก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ภวังคจิตที่ สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ฯลฯ มโนวิญญาณธาตุที่
เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติและสหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็น
กิริยา ฯลฯ ภวังคจิตที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ กุศลและอกุศลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่สหรคตด้วยอุเบกขา กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็น
ปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอนันตรปัจจัย (๔)
สมนันตรปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
สหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับปฏิจจวาร สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ)
อัญญมัญญปัจจัยและนิสสยปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๑๐ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติให้เกิดขึ้น
ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ
มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยจาคะที่
สหรคตด้วยปีติ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีจิตสหรคตด้วยปีติ ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ
ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือนหลังเดียว ดักจี้ในทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่า
ชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา
... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ
... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุข
อาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ
... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น
มีจิตสหรคตด้วยสุข ลักทรัพย์ ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และ
กายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือ
ทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)
[๓๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
สุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุข
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วย
อุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณ
ที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๕] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่
สหรคตด้วยอุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ มี
จิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
อุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีลที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
อุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วย
อุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคต
ด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนา และกายวิญญาณที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขาแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุขอาศัยศีลที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน
ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)
[๓๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติอาศัยศีล
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่า
ชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัยศรัทธาที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยสุขอาศัย
ศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนา และกายวิญญาณที่
สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศรัทธาที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ
มีจิตสหรคตด้วยอุเบกขาอาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ
ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคต
ด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลมีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขอาศัย
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ
ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ มีจิตสหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุข อาศัยศีลที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ... สุตะ ... จาคะ
... ปัญญา ... ราคะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วจึงให้
ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําฌานที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ...
วิปัสสนา ... มรรค ... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีจิตสหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข
ลักทรัพย์ พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดเพ้อเจ้อ งัดแงะ ปล้นไม่ให้เหลือ ปล้นเรือน
หลังเดียว ดักจี้ในทางเปลี่ยว ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
อาเสวนปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัย
แก่โคตรภูที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
โวทานที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
มรรคที่สหรคตด้วยสุข โวทานที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยสุข
โดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย
ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วย
สุขโดยอาเสวนปัจจัย (๓)
[๓๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย (ย่อ) (พึงดูนัยแห่งปีติแล้วเพิ่มเถิด)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุเบกขาซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็น
ปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๓๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติ ฯลฯ สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
ปีติและที่สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย ฯลฯ โวทานที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่มรรคที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดย
อาเสวนปัจจัย (๓)
กัมมปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยปีติโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคต
ด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา
โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาโดยกัมมปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ที่สหรคต
ด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย (๔)
[๔๑] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข ...
(พึงดูการนับทั้ง ๔ แล้วเพิ่มเถิด)
[๔๒] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยอุเบกขา
ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
กัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและ
ที่สหรคตด้วยสุขโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่
สหรคตด้วยอุเบกขา ฯลฯ (๔)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติ ... (พึงเพิ่มเป็น ๔ วาระ ผู้รู้พึงจําแนกสภาวธรรมที่สหรคตด้วย
ปีติ) (๔)
วิปากปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
วิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งสหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงขยายวาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัยในปฏิจจวาร)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๔๔] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย (พึงขยาย
วาระทั้ง ๑๐ ให้พิสดาร) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
(นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัยเหมือนกับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๕] เหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอนุโลมกุสลติกะ)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๖] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๗] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาโดย
อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่
สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๘] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วย
อุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัยและกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยสุข
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขาเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติ
และที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)
[๔๙] สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยปีติโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยอุเบกขาโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สหรคตด้วยปีติและที่สหรคตด้วยสุขโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๐] นเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร

โนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๖ วาระ (ผู้รู้พึงนับปัจจนียะ)
ปัจจนียะ จบ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
ทุกนัย

[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑๐ วาระ (ผู้รู้พึงนับอนุโลมปัจจนียะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๗. ปีติติกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
ทุกนัย

[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑๖ าระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ

(ผู้รู้พึงนับปัจจนียานุโลม)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปีติติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรค
เบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๔] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณ
ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑
ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ
มรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
อธิปติปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณ
ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
[๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย)
สหชาตปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่ไม่ต้องประหาณด้วย
โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ-
มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๑๒] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนิสสยปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับเหตุ-
ปัจจัย) เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
(ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอาเสวนปัจจัย (ไม่มีวิปากปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย
(ปัจจัยมีนิสสยปัจจัยเป็นต้นบริบูรณ์แล้ว รูปที่เป็นภายในและมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมก็บริบูรณ์แล้ว)
วิปากปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและด้วยมรรคเบื้อง
บน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัต
ตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะอาหารปัจจัย (ปัจจัยมีอาหารปัจจัยเป็นต้น
บริบูรณ์แล้ว มหาภูตรูปที่เป็นภายในและอาหารสมุฏฐานรูปก็บริบูรณ์แล้ว) เพราะ
อินทรียปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับกัมมปัจจัย) เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
(ปัจจัยนี้เหมือนกับเหตุปัจจัย) เพราะสัมปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณ-
ปัจจัย) เพราะวิปปยุตตปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัยในกุสลติกะ) เพราะ
อัตถิปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัย) เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(ผู้รู้พึงนับอนุโลมตามบทเหล่านี้)
อนุโลม จบ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคอาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ อาศัยสภาวธรรมที่ต้อง
ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ต้อง
ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓
อาศัยสภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ อาศัย
สภาวธรรมที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่ต้องประหาณด้วยโสดา-
ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๑๖๗ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น