Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๘ หน้า ๓๗๖ - ๔๒๙

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๘ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะ
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ พึงจำแนกไว้) (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๙๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ พึงจำแนกไว้) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิ-
ปัจจัย ปฏิฆะที่สหรคตด้วยโทมนัสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยคันถะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะจึงเกิดขึ้น
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์ที่
สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๙๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
โทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โลภะโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโทมนัสและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโลภะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัสและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และปฏิฆะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๙๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๙๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
คันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉา-
ชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะ
และที่วิปปยุตจากคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ
ปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๘.คันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๙๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉา-
ชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะและที่วิปปยุตจากคันถะโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๐๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๐๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๙.คันถคันถนิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๐๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
คันถสัมปยุตตทุกะ จบ
๒๙. คันถคันถนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๓] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
คันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะ
อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น สีลัพพตปรามาสกายคันถะอาศัยอภิชฌา-
กายคันถะเกิดขึ้น อภิชฌากายคันถะอาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะเกิดขึ้น อิทัง-
สัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
คันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยคันถะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะเป็นอารมณ์ของคันถะและที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่
เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย (๑)
(ปฏิจจวาร สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร
เหมือนกับคันถทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๒๙. คันถคันถนิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒๙. คันถคันถนิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (พึงขยายวาระทั้ง ๙ ให้พิสดารอย่างนี้)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๕] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
คันถะ คันถะจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภคันถะ ขันธ์ที่เป็น
อารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
คันถะ คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่
เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณา
โวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ (พึงขยายให้พิสดารทั้งหมด) ... เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นคันถะและเป็นอารมณ์ของคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
เพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจาก
ฌานแล้ว ยินดีเพลิดเพลินฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นอารมณ์
ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานเป็นต้นนั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นคันถะเป็นอารมณ์ของคันถะและที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วยินดีเพลิดเพลินฌาน
ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานเป็นต้นนั้น คันถะและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
(พึงขยายความทั้ง ๓ วาระนอกนี้ให้พิสดารอย่างนี้) (๓)
(พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ ในทุกะนี้ไม่มีโลกุตตระเหมือนกับคันถทุกะ ไม่
มีข้อแตกต่างกัน พึงกำหนดแน่นอนว่า เป็นอารมณ์ของคันถะ ในมัคคปัจจัยพึง
เพิ่มเป็น ๙ วาระ)
คันถคันถนิยทุกะ จบ
๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑ - ๔. ปัจจยจตุกกนัย
เหตุปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
คันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อภิชฌากายคันถะอาศัย
สีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น สีลัพพตปรามาสกายคันถะอาศัยอภิชฌา-
กายคันถะเกิดขึ้น อภิชฌากายคันถะอาศัยอิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะเกิดขึ้น
อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะอาศัยอภิชฌากายคันถะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะ
และสัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยคันถะ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็น
คันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
อภิชฌากายคันถะและสัมปยุตตขันธ์อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะเกิดขึ้น (พึงผูก
เป็นจักกนัย) (๓)
[๑๐๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
คันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ คันถะอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และคันถะอาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
คันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ คันถะอาศัยคันถะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะ
สัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะและอาศัยคันถะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็น
คันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่
เป็นคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และอภิชฌากายคันถะอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะและอาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)

[๑๑๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียะ
[๑๑๑] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
คันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (ย่อ)
(ในที่นี้ไม่มีนเหตุปัจจัย)

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

(โดยนัยนี้ การนับ ๒ อย่างนอกนี้ สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร
สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๓๐. คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะและสัมปยุต
ด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วย
คันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะ
สัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และคันถะโดย
เหตุปัจจัย (๓)
[๑๑๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะ
แต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
คันถะและสัมปยุตด้วยคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่
เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตคันถะโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
คันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และคันถะโดย
เหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๑๑๔] สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่
ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่
เป็นคันถะโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นคันถะสัมปยุตด้วยคันถะและที่สัมปยุตด้วย
คันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และคันถะโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๕] สภาวธรรมที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นคันถะและสัมปยุตด้วยคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภคันถะ
คันถะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภคันถะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะ
แต่ไม่เป็นคันถะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภคันถะ ขันธ์ที่เป็น
คันถะและสัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะจึงเกิดขึ้น (พึง
เพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ คันถะจึง
เกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะแต่ไม่เป็นคันถะ
คันถะและขันธ์ที่สัมปยุตด้วยคันถะจึงเกิดขึ้น (๓)
(พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระแม้นอกนี้อย่างนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย
อนันตรปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย ไม่มีการจำแนกไว้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๓๐.คันถคันถสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

(อรูปเท่านั้นเป็นปัจจัย พึงจัดไว้ปัจจัยละ ๓ วาระ พึงเปลี่ยนอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัยให้เป็นปัจจัยละ ๙ วาระ แม้ในปัญหาวาร ก็
พึงเพิ่มทั้งหมดอย่างนี้)
คันถคันถสัมปยุตตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖-๗.โอฆ-โยคโคจฉกะ ๓๒-๔๓.โอฆทุกะเป็นต้น
๓๑. คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เหตุปัจจัย
[๑๑๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะอาศัย
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์ของคันถะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากคันถะแต่เป็นอารมณ์
ของคันถะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหา-
ภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงขยายให้พิสดารเหมือนโลกิยทุกะ ในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อ
แตกต่างกัน)
คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ จบ
คันถโคจฉกะ จบ

๖- ๗. โอฆ - โยคโคจฉกะ
๓๒ - ๔๓. โอฆทุกะเป็นต้น
[๑] สภาวธรรมที่เป็นโอฆะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโอฆะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ฯลฯ
[๒] สภาวธรรมที่เป็นโยคะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นโยคะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ฯลฯ
(โคจฉกะแม้ทั้ง ๒ เหมือนกับอาสวโคจฉกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
โอฆ-โยคโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๘. นีวรณโคจฉกะ
๔๔. นีวรณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์
เกิดขึ้น อุทธัจจนิวรณ์และอวิชชานิวรณ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น ถีนมิทธนิวรณ์
อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยพยาบาทนิวรณ์เกิดขึ้น อุทธัจจนิวรณ์ และ
อวิชชานิวรณ์อาศัยพยาบาทนิวรณ์เกิดขึ้น ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ กุกกุจจ-
นิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยพยาบาทนิวรณ์เกิดขึ้น อุทธัจจนิวรณ์ กุกกุจจนิวรณ์
และอวิชชานิวรณ์อาศัยพยาบาทนิวรณ์เกิดขึ้น อุทธัจจนิวรณ์อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์
เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์อาศัยอุทธัจจนิวรณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ นิวรณ์อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ นิวรณ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์
อาศัยกามฉันทนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
นิวรณ์และอาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
นิวรณ์และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่
เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์
และอวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์และอาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์อาศัย
อุทธัจจนิวรณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นนิวรณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๒)
[๖] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์และสัมปยุตต-
ขันธ์เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์อาศัยอุทธัจจนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์
เกิดขึ้น (ย่อ) เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นปุเรชาตปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และ
อวิชชานิวรณ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น ในอรูปาวจรภูมิ อุทธัจจนิวรณ์ และ
อวิชชานิวรณ์ อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น ในอรูปาวจรภูมิ อุทธัจจนิวรณ์ และ
อวิชชานิวรณ์อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์เกิดขึ้น ในอรูปาวจรภูมิ อวิชชานิวรณ์อาศัย
อุทธัจจนิวรณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพระนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงขยายวาระที่เหลือแม้ทั้งหมดให้พิสดาร พึงจัดอรูปไว้ก่อน
จัดรูปไว้ตามที่จะมีได้ในภายหลัง)
[๙] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ถีนมิทธนิวรณ์ และ
อุทธัจจนิวรณ์อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์และอาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็น
จักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่เป็นนิวรณ์และอาศัยนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยนิวรณ์และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
และที่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓
ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์และอวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์และ
อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงขยายสหชาตวารให้พิสดารอย่างนี้)
๔๔. นีวรณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปที่เป็นภายใน) ขันธ์ที่
ไม่เป็นนิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ นิวรณ์ทำขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น นิวรณ์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ นิวรณ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ นิวรณ์ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น นิวรณ์และ
สัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๓.ปัจจยวาร
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชา-
นิวรณ์ทำกามฉันทนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย)
ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์ทำกามฉันทนิวรณ์และหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่
เป็นนิวรณ์และทำนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ สัมปยุตต-
ขันธ์ทำนิวรณ์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำนิวรณ์และ
สัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำนิวรณ์และทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจ-
นิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์และทำกามฉันทนิวรณ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย) ถีนมิทธินิวรณ์
อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ทำกามฉันทนิวรณ์และหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร


[๑๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์ทำวิจิกิจฉานิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
อวิชชานิวรณ์ทำอุทธัจจนิวรณ์ให้เป็นป้จจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่
เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นนิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์ทำวิจิกิจฉานิวรณ์และ
สัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์ทำอุทธัจจนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์ทำวิจิกิจฉานิวรณ์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์ทำอุทธัจจนิวรณ์และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๘] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๔๔. นีวรณทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑-๔. ปัจจยจตุกกนัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์เกิดระคนกับ
กามฉันทนิวรณ์ (พึงผูกเป็นจักกนัย พึงขยายนิวรณ์ทั้งหมดให้พิสดาร)

[๒๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อนุโลม จบ
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์เกิดระคนกับวิจิกิจฉานิวรณ์ อวิชชานิวรณ์เกิด
ระคนกับอุทธัจจนิวรณ์ (ย่อ)

[๒๔] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงเพิ่มอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๓๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
๔๔. นีวรณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ นิวรณ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภนิวรณ์ นิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภนิวรณ์ ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะ
ปรารภนิวรณ์ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศล
นั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นนิวรณ์ซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นนิวรณ์
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์
ที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสม
ไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และ
ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ)
อธิปติปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำนิวรณ์ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น นิวรณ์จึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค ฯลฯ พิจารณาผล
ฯลฯ พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็น
นิวรณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิวรณ์และ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
นิวรณ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (มีเฉพาะ
อารัมมณาธิปติปัจจัยเท่านั้น)
อนันตรปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ นิวรณ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) นิวรณ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ซึ่งเกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย นิวรณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้าง
บทที่เป็นมูล) นิวรณ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
นิวรณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่าน
ผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่นิวรณ์โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่ไม่เป็น
นิวรณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตร-
ปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
นิวรณ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์
ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยสมนันตร-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยนิสสยปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ นิวรณ์เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
วาระ
[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ฯลฯ ทำฌานให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำวิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค ... ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่
นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ วาระ (ปุเรชาตปัจจัย
เหมือนกับอารัมมณปัจจัย สำหรับสภาวธรรมที่เป็นกุศลและอกุศลพึงจำแนกไว้)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตนิวรณ์โดยกัมมปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ นิวรณ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (พึงเพิ่ม ๔ วาระที่
เหลืออย่างนี้)
อัตถิปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ กามฉันทนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์
โดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (โดยนัยนี้ บทที่มีนิวรณ์เป็นมูล มี ๓
วาระ) (๓)
[๔๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
(ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (๓)
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ กามฉันทนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์
อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย กามฉันทนิวรณ์และหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์และนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ นิวรณ์และหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย นิวรณ์และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ นิวรณ์ สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ นิวรณ์ สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
และที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นนิวรณ์และกามฉันทนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ กามฉันทนิวรณ์และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ถีน-
มิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (พึง
ผูกเป็นจักกนัย) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๔] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร

วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๔๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และที่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
และที่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๔.นีวรณทุกะ ๗.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นีวรณทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๔๕. นีวรณิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของ
นิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ (พึงเพิ่มนีวรณิยทุกะไว้เหมือนโลกิยทุกะ ไม่มี
ข้อแตกต่างกัน)
นิวรณ์ประกอบกับนิวรณ์ ๘ ครั้ง คือ
กามฉันทะ ๒ ครั้ง ปฏิฆะ ๔ ครั้ง
อุทธัจจะและวิจิกิจฉา ๒ อย่างนี้ อย่างละครั้ง
(ได้จัดมาติกาแห่งนีวรณทุกะไว้ในวาระนี้แล้ว)
นีวรณียทุกะ จบ
๔๖. นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๕๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
วิปปยุตจากนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปที่เป็นภายใน) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่
วิปปยุตจากนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยนิวรณ์และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๕๔] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากนิวรณ์ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๕๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นวิปปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ

(สหชาตวารพึงเพิ่มอย่างนี้)
๔๖. นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่วิปปยุต
จากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ทำ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุต
จากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
[๖๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และ
ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุต
จากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๑] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์ทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งวิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตต-
พรหม) จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำ
กายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากนิวรณ์ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุต
จากนิวรณ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๓] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๕.สังสัฏฐวาร
๔๖. นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑-๔. ปัจจยจตุกกนัย
[๖๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๒ วาระ)
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อนุโลม จบ
[๖๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
... เกิดระคนกับสภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์ (ย่อ)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๔๖. นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
ทิฏฐินั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ... โทมนัสจึงเกิดขึ้น
เพราะปรารภโทมนัส โทมนัสจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะจึง
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ซึ่งละได้แล้ว
พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๖๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ (พึง
เพิ่มข้อความจนถึงอาวัชชนจิต) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุต
ด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทาน
ศีล ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินฌาน ฯลฯ จักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ
ทำความยินดีเพลิดเพลินฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (ในที่นี้ไม่มีคำว่า เกิด
ก่อน ๆ) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่วิปปยุตจากนิวรณ์ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดย
อนันตรปัจจัย (๒)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๗๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
อาศัยโทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่า
สัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถ ฯลฯ ทำฌานให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำวิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... มรรค ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๔] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ
ทำมรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ
เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วมีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๗๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ) เป็นปัจจัยโดย
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๗๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอาหารปัจจัย อินทรียปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย มี
๒ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
อัตถิปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
และที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๘๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดย
อัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย (๒)
[๘๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย
อัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๓] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
และที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๘๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
นิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉา-
ชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่วิปปยุตจากนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากนิวรณ์โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรีย-
ปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๖.นีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๗. นีวรณนีวรณิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๘๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงเพิ่มอนุโลมคณนา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นีวรณสัมปยุตตทุกะ จบ
๔๗. นีวรณนีวรณิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๘๙] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่
เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์
อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงจำแนกคณนา
ทั้งหมดอย่างนี้ เหมือนกับนีวรณทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
๔๗. นีวรณนีวรณิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๐] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์และเป็น
อารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์และเป็น
อารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๒๙ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น