Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๑ หน้า ๑ - ๕๔

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๑ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

๑๐. มหันตรทุกะ
๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๔] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ (๓)
[๗] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่รับรู้
อารมณ์ได้อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๘] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้
อารมณ์ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๓)
นอารัมมณปัจจัย
[๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้อาศัยสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่รับรู้อารมณ์
ได้และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
[๑๔] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๑๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่รับรู้อารมณ์
ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่
สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์
ได้ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
รับรู้อารมณ์ได้ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่
ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ทำสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
(ย่อ) (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๐] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๕๕. สารัมมณทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดระคนกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

[๒๔] เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนุโลม จบ
[๒๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เกิดระคนกับสภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งรับรู้อารมณ์ได้
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (ย่อ)

[๒๖] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ l/r
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระl/r

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ฯลฯ โทมนัส
จึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
พระอริยะพิจารณาโคตรภูและโวทาน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค
พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่รับรู้อารมณ์ได้
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่รับรู้
อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๒๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพ-
จักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความยินดีเพลิดเพลิน
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคล
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่รับรู้อารมณ์
ได้ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะพิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค
และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๒] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ... ที่รับรู้อารมณ์ได้ซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัย
โดยสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ (ปัจจัยเหล่านี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ (ปัจจัยเหล่านี้เหมือนกับอัญญมัญญ-
ปัจจัยในปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
นิสสยปัจจัยในปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ มรรคและผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้
ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกาย ฯลฯ มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากโดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยและอาหารปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)
อินทรียปัจจัย
[๓๘] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
รับรู้อารมณ์ได้โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และกายวิญญาณ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๙] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดย
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่รับรู้
อารมณ์ได้โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๔๑] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๒] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตต-
พรหม) (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้โดยอัตถิปัจจัย (๒)
[๔๓] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่รับรู้อารมณ์ได้และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่รับรู้อารมณ์ได้และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๖ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๕] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้
อารมณ์ไม่ได้โดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
[๔๖] สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์
ไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้โดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่รับรู้อารมณ์ได้โดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้และที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่รับรู้อารมณ์ไม่ได้โดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรีย-
ปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๕. สารัมมณทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๗] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ l/r
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯl/r
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระl/r
นสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระl/r
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระl/r
นนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ l/r
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระl/r
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระl/r
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯl/r
นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระl/r
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระl/r
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระl/r
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระl/r
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระl/r
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระl/r
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระl/r

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ l/r
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯl/r
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระl/r
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯl/r


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นมัคคปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๙] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ l/r
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระl/r
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระl/r

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ l/r

สารัมมณทุกะ จบ
๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปอาศัยจิตเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น
... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ จิตและกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิต และอาศัย
จิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและอาศัยจิต
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตอาศัยจิตและ
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑))
อารัมมณปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิต
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิต
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและอาศัยจิตเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตอาศัย
จิตและหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๒] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ l/r
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระl/r
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระl/r
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระl/r
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระl/r
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระl/r
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระl/r


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัยจิต ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตอาศัย
ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่
เป็นจิตและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตอาศัยจิตและหทัย-
วัตถุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยจิตที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอาศัยสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิตและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๕๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย มี ๕ วาระ เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปอาศัยจิต
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
จิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิต
และอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตอาศัยจิตและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิต
และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยจิตและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
... เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
... เพราะนอาเสวนปัจจัย
นกัมมปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยจิตเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตอาศัยสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นจิตและอาศัยจิตเกิดขึ้น
(ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๘] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูป)
ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตทำขันธ์ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ จิตทำขันธ์ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและ
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำจิตและมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำจิตและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและทำจิตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปทำจิตและมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำจิตและหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตทำขันธ์ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตทำขันธ์ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและทำจิตให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำจิตและหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำจิต
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
และจักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๓] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำจิตที่เป็นอเหตุกะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
[๖๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นจิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีเหตุซึ่งไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตทำสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มี
เหตุซึ่งไม่เป็นจิตและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่
เป็นจิตทำจิตและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตทำจิตและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะและจักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำจิตให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๑) (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๖] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๖๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ (ย่อ)


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๕๖. จิตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นจิตเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิต ขันธ์ ๑ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตเกิดระคนกับขันธ์ที่ไม่เป็นจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิต ... เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและเกิดระคนกับจิต ...
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัย ละ ๕ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (ย่อ)
นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้ทั้งหมด)
๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๗๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจิต จิตจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
จิต ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภจิต จิตและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจาก
ฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ไม่เป็นจิตซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลส
ที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่
ไม่เป็นจิตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นจิตด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่
อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ (เหมือนกับข้อความตอนต้น ไม่มีข้อแตกต่างกัน ส่วนที่ต่างกัน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
มีดังนี้) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ฯลฯ อาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ (เหมือนกับข้อความตอนต้น ไม่มีข้อแตก
ต่างกัน ส่วนที่ต่างกันมีดังนี้) รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตต ขันธ์
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่
เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ฯลฯ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจิตและสัมปยุตตขันธ์ จิตจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย
[๗๓] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
จิตจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ไม่
เป็นจิตจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําจิตให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๗๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน
มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และ
ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอธิปติปัจจัย
(ข้อความแห่งปัจจัยทั้ง ๒ อย่าง เหมือนกับตอนต้น ไม่มีข้อแตกต่างกัน พึงเพิ่ม
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ (พึงเพิ่มคำว่า ทำให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นทั้ง ๓ วาระ มีเฉพาะอารัมมณาธิปติเท่านั้น)
อนันตรปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
จิตเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๗๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดย
อนันตรปัจจัย (ผู้ประสงค์จะทําทั้ง ๒ วาระนี้ให้บริบูรณ์ พึงเพิ่มข้อความเข้ามา
เหมือนกับข้อความที่มีมาก่อน)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) จิตและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย จิตและ
สัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
จิตและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
(เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับ
ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอุปนิสสยปัจจัย
(ผู้ประสงค์จะทําทั้ง ๒ วาระนี้ให้บริบูรณ์ พึงเพิ่มข้อความเข้ามาทุกปัจจัย เหมือนกับ
ข้อความตอนต้น ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่จิตโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๗๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่างคือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสต-
ธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอาเสวนปัจจัย
มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือสหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบากโดย
กัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์จิตและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากจิตและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๘๑] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยวิปากปัจจัย
มี ๕ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย
มี ๕ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยฌานปัจจัย
มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่
เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์
โดยวิปปยุตตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดย
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
อัตถิปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ จิต และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิต ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ (ปัจจัยนี้
เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๘๔] สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
จิตโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นจิตและจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ จิตและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นจิตโดยอัตถิปัจจัย
(แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็มี ๒ วาระ)
สหชาตะ ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ จิตและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิ-
ปัจจัย (แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็มี ๒ วาระ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ จิตและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ จิต สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ จิต สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๖] สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอารัมมณ-
ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๖. จิตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๘๘] สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิต
โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นจิตโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่ไม่เป็นจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นจิตและที่
ไม่เป็นจิตโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๘๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๙๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมปฏิโลมมาติกา)
จิตตทุกะ จบ
๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิต
และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เจตสิกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๙๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
อาศัยจิตเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยจิต ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยจิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๙๔] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก อาศัยจิตและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิต
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิ-
ขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและ
ที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและ
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตอาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๙๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตต-
ขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๔ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น