Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๒-๙ หน้า ๔๓๐ - ๔๘๒

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒-๙ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๗. นีวรณนีวรณิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์เป็นอารมณ์ของนิวรณ์และที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ นิวรณ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอารมณ์ของ
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๙๑] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
นิวรณ์ นิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภนิวรณ์ ขันธ์ที่เป็น
อารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
นิวรณ์ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจาก
ฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว
พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลิน ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอาวัชชนจิต) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และเป็นอารมณ์ของนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นอารมณ์
ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นนิวรณ์เป็นอารมณ์ของนิวรณ์และที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่ม ๓ วาระ
แม้นอกนี้อย่างนี้) (๓)
(อธิปติปัจจัยเหมือนกับอารัมมณปัจจัย ปุเรชาตปัจจัยเหมือนกับอารัมมณปัจจัย
ในอุปนิสสยปัจจัย ไม่พึงเพิ่มโลกุตตระ ย่อ พึงขยายให้พิสดารอย่างนี้ พึงพิจารณา
แล้วจึงเพิ่มเหมือนนีวรณทุกะ)
นีวรณนีวรณิยทุกะ จบ
๔๘. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจ-
นิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย พึงเพิ่ม
นิวรณ์เข้าทั้งหมด) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยนิวรณ์
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็น
นิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์อาศัยกามฉันทนิวรณ์
เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
[๙๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ นิวรณ์อาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็น
นิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และนิวรณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๙๔] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และอวิชชานิวรณ์อาศัยกาม-
ฉันทนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์และอาศัยนิวรณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็น
นิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่
เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ และ
อวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์และอาศัยกาม-
ฉันทนิวรณ์เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงผูกเป็นจักกนัย ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๙๕] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๙ วาระ)

กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัย
วิจิกิจฉานิวรณ์เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์อาศัยอุทธัจจนิวรณ์เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์อาศัยสภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์
สัมปยุตด้วยนิวรณ์ และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ อวิชชานิวรณ์อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น อวิชชานิวรณ์
อาศัยอุทธัจจนิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๗] นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙๘] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๙๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๓ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(โดยนัยนี้ สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวาร
เหมือนกับปฏิจจวาร ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
๔๘. นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์และ
สัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วย
นิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
นิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์ และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และนิวรณ์โดย
เหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภนิวรณ์
นิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภนิวรณ์ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภนิวรณ์
นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์จึงเกิด
ขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์
นิวรณ์จึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่
เป็นนิวรณ์ นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็น
นิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ (๓)
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มคำว่า ทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิวรณ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิวรณ์และสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และนิวรณ์โดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๑๐๓] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์สัมปยุตด้วยนิวรณ์และที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่
ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอธิปติ-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (๓)
... เป็นปัจจัยโดยอนันตรปัจจัย (อาวัชชนจิตและวุฏฐานะไม่มี ทุก ๆ แห่ง
พึงเพิ่มคำว่า ที่เกิดก่อน ๆ) เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
(ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย วิบากไม่มี) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๕
วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๑๐๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วย
นิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็น
มูล) เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนิวรณ์โดย
กัมมปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เจตนาที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และนิวรณ์โดยกัมมปัจจัย (๓)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยนิวรณ์แต่ไม่เป็นนิวรณ์โดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดย
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๖] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๘.นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นนิวรณ์และสัมปยุตด้วยนิวรณ์โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุป-
นิสสยปัจจัย (โดยนัยนี้ ในบททั้ง ๓ พึงเปลี่ยนไปทั้ง ๙ วาระ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๐๘] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๐๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๔๙.นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นีวรณนีวรณสัมปยุตตทุกะ จบ
๔๙. นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๑๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์อาศัยสภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์นิวรณ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากนิวรณ์แต่เป็นอารมณ์ของนิวรณ์
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)
(พึงเพิ่มเหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
นีวรณวิปปยุตตนีวรณิยทุกะ จบ
นีวรณโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๙. ปรามาสโคจฉกะ
๕๐. ปรามาสทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปรามาสเกิดขึ้น (๑)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
ปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหมและมหาภูตรูป) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ปรามาสอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ปรามาสและจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นปรามาสและอาศัยปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยปรามาสและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๕ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปรามาสเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปรามาสและ
สัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๘] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๙] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๕๐. ปรามาสทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำปรามาสให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาส
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ปรามาสทำขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ปรามาสทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ปรามาส และจิตตสมุฏฐานรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๓.ปัจจยวาร
ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ปรามาส
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
[๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาสและทำปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำปรามาสและสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูปทำปรามาสและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาส
ทำปรามาสและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นปรามาสทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๓.ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยพึงเพิ่มอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๕๐. ปรามาสทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปรามาสเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับปรามาส (พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระอย่างนี้
เฉพาะในอรูปาวจรภูมิ สังสัฏฐวารและสัมปยุตตวาร พึงเพิ่มไว้อย่างนี้)
๕๐. ปรามาสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่
เป็นปรามาสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ปรามาส และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภปรามาส ปรามาสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) เพราะปรารภปรามาส ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็น
มูล) เพราะปรารภปรามาส ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่ง
สมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรค
แล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่
ไม่เป็นปรามาส ซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่
เคยเกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่ง
พร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นปรามาสด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาส เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ปรามาสและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออก
จากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาส
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์จึง
เกิดขึ้น (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภปรามาสและสัมปยุตตขันธ์
ปรามาสจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อธิปติปัจจัย ได้แก่ เพราะทำปรามาสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ปรามาสจึง
เกิดขึ้น มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มเฉพาะอารัมมณาธิปติปัจจัย)
[๒๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น พิจารณา
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
และขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิด
เพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดยอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่
เป็นปรามาสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ปรามาสและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ปรามาส และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำปรามาส
และสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ปรามาสจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ปรามาสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปรามาสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ปรามาสเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปรามาสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปรามาส
และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่
เป็นปรามาสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ปรามาสที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ปรามาส
โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิต
เป็นปัจจัยแก่ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๕] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ปรามาสที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปรามาส
และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสซึ่งเกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปรามาส
และสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
สมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปรามาสเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี
๓ วาระ
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส โดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ
ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทาง
กาย ฯลฯ มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดยอุป-
นิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ถือทิฏฐิ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ถือทิฏฐิ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ปรามาสและ
สัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่
ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดยปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มปัจฉาชาตปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย
มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ไม่เป็นปรามาสเป็น
ปัจจัยแก่ปรามาสโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ไม่เป็นปรามาสเป็น
ปัจจัยแก่ปรามาส สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดยมัคค-
ปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่เป็นปรามาส ฯลฯ (โดยนัยนี้ พึงเพิ่มเป็น ๕ วาระ)
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ปรามาส
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
อัตถิปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ปรามาสเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๑)
[๓๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ปรามาสโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่
เป็นปรามาสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ปรามาส
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นปรามาสโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นปรามาสและปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปรามาสและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปรามาสและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ปรามาสและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ปรามาส สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ปรามาส สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๘] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๐.ปรามาสทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๔๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปรามาสและที่ไม่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๑. ปรามัฏฐทุกะ ๑-๗. ปัญหาวาร

นอนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
ปรามาสทุกะ จบ
๕๑. ปรามัฏฐทุกะ ๑-๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์
ของปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน)
... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาส ฯลฯ (พึงเพิ่มปรามัฏฐทุกะ
เหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปรามัฏฐทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุต
จากปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่
วิปปยุตจากปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยปรามาสและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๘] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร

อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาส
เกิดขึ้น (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่
วิปปยุตจากปรามาสเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร
วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสทำสภาวธรรมที่
วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และที่วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่
วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสทำสภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
[๕๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากปรามาสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม)
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งวิปปยุตจากปรามาสทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๕๘] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๓.ปัจจยวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๙] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๖๐] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑ - ๔. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๖๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)
สุทธนัย

[๖๒] เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๒ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

(การนับทั้ง ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงเพิ่มอย่างนี้)
๕๒. ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยปรามาส
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะ เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดี
เพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาส เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น
ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่สัมปยุตด้วยปรามาสซึ่งละได้
แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะที่
วิปปยุตจากปรามาส ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคล
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยปรามาสด้วยเจโตปริยญาณ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๖๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
แล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น
ราคะที่วิปปยุตจากปรามาส ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระ
อริยะพิจารณากิเลสที่วิปปยุตจากปรามาสซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้
กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่วิปปยุต
จากปรามาสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่วิปปยุตจากปรามาส ฯลฯ วิจิกิจฉา
ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่วิปปยุตจากปรามาส
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
ขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาส เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น (๒)
อธิปติปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
ที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาส
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากปรามาสจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และที่วิปปยุตจากปรามาสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๖๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากปรามาส
จึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน
มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และ
ขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิด
เพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากปรามาส
จึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถแล้ว ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน
ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น (๒)
อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย
อนันตรปัจจัย (๒)
[๖๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากปรามาสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสซึ่งเกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากปรามาสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดย
อนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒
วาระ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาส ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาส ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสแล้วให้ทาน
ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยโมหะที่สัมปยุตด้วยปรามาส ฯลฯ ความ
ปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์ ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาส โมหะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ
ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๗๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
อาศัยสุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ
ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ
ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ เพราะอาศัยศรัทธา ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึง
เกิดขึ้น เพราะอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาส ฯลฯ ความ
ปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัย
[๗๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ราคะที่วิปปยุตจากปรามาส ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่สัมปยุตด้วยปรามาสจึง
เกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๗๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่สัมปยุตด้วย
ปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔
วาระ เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และที่วิปปยุตจากปรามาสโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๗๘] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่
สัมปยุตด้วยปรามาสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
[๗๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและกวฬิงการาหารเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยปรามาสและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๐] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมม-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
และที่วิปปยุตจากปรามาสโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๘๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
ปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยปรามาสและที่วิปปยุตจากปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๓] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๒.ปรามาสสัมปยุตตทุกะ ๗.ปัญหาวาร

นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๗ วาระ)

นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๘๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(ทุกปัจจัย มีปัจจัยละ ๔ วาระ)

นมัคคปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๓.ปรามาสปรามัฏฐทุกะ ๑.ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๘๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ปรามาสสัมปยุตตทุกะ จบ
๕๓. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘๖] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยปรามาสเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูป
ภายใน) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ปรามาสอาศัย
ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสเป็นอารมณ์ของปรามาสและที่เป็นอารมณ์ของปรามาส
แต่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ปรามาส และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๓.ปรามาสปรามัฏฐทุกะ ๗.ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
ปรามาสเป็นอารมณ์ของปรามาสและที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาส
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสและอาศัยปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ)
(วาระทั้งหมดพึงทำเหมือนปรามาสทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
๕๓. ปรามาสปรามัฏฐทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๘๗] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ
ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอารมณ์
ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่ปรามาสโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสเป็นอารมณ์ของปรามาสและที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็น
ปรามาสโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ปรามาส และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
(พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ เหมือนกับปรามาสทุกะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๓.ปรามาสปรามัฏฐทุกะ ๗.ปัญหาวาร
[๘๙] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจาก
ฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว
พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
และขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ (พึงเพิ่มบททั้งปวงจนถึงอาวัชชนจิต)
(๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสและเป็นอารมณ์ของปรามาสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็น
อารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาส เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปรามาสเป็นอารมณ์ของปรามาสและที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็นปรามาส
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของปรามาสแต่ไม่เป็น
ปรามาส เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ปรามาสและ
สัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
(แม้นอกนี้ก็มี ๓ วาระอย่างนี้ พึงเพิ่มคำว่า เพราะปรารภ ทุกะนี้เหมือน
กับปรามาสทุกะ ไม่พึงเพิ่มโลกุตตระเข้าในที่ซึ่งมีไม่ได้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๔. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๕๔. ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสแต่เป็นอารมณ์ของปรามาสอาศัย
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสแต่เป็นอารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากปรามาสแต่เป็น
อารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสอาศัยสภาว-
ธรรมที่วิปปยุตจากปรามาสและไม่เป็นอารมณ์ของปรามาสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (ย่อ)
(พึงทำเหมือนโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
ปรามาสวิปปยุตตปรามัฏฐทุกะ จบ
ปรามาสโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๒ หน้า :๔๘๒ }

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๙ ปัฏฐาน ภาค ๓ จบ

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น