Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๕ หน้า ๒๑๖ - ๒๖๙

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๕ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สําหรับอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๗๔] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๗๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุ
ซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความ
จนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๗๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
และที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)

เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ

นกัมมปัจจัย
[๓๗๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้น ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปที่เป็นภายนอก ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก มีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปากปัจจัย
[๓๗๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม โดยนัยนี้ มี ๓ วาระ
ในสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล)
นอาหารปัจจัย
[๓๗๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ที่เป็นภายนอก ซึ่งมีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหม
ที่เป็นภายนอก ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐาน ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)
นอินทรียปัจจัย
[๓๘๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะ
นอินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่
เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่
เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๓)
นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๘๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่
เป็นภายนอก ซึ่งมีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ซึ่งมีอาหารเป็นสมุฏฐาน มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็น
สมุฏฐานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
และอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป และอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
สําหรับอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๘๓] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๘๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๘๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๘๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(บทที่มีสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาร
ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๓๘๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๘๘] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๘๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจจัย
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวารไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ-
ขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ

นกัมมปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปที่เป็นภายนอก ที่มี
อาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และ
อุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ๑ ... ที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ทำขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

เพราะนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ

นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็น
ภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
ทำมหาภูตรูป ๒ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปของเหล่า
อสัญญสัตตพรหมที่เป็นภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ และ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูป ๑ ของเหล่าอสัญญสัตตพรหมที่เป็น
ภายนอก ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
ทำมหาภูตรูป ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปทำสภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๙๒] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทําอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๒๙ }


๖๗. อุปาทาทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๓๙๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ)

เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็น
อุปาทายรูป ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ (ย่อ)

นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๙๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๓๙๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ
รส และหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
รสายตนะเป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่ม
ได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งโผฏฐัพพะและขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ
เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
อธิปติปัจจัย
[๓๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูป ฯลฯ รส และหทัยวัตถุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
โผฏฐัพพะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว เพราะทำ
ความยินดีเพลิดเพลินโผฏฐัพพะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น
ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๙๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร)
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๓๙๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยจักขุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ
สัททสมบัติ คันธสมบัติ รสสมบัติ และโภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์
จักขุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ สัททสมบัติ คันธสมบัติ รสสมบัติ
และโภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๓๙๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ รสายตนะเป็นปัจจัยแก่
ชิวหาวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้ง
โผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยปุเรชาตปัจจัย โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๔๐๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๔๐๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
ภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัย
[๔๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อาหารปัจจัย
[๔๐๓] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดย
อาหารปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(บทที่มีสภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นมูล มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ก็พึง
เพิ่มเป็น ๓ วาระ) (๓)
อินทรียปัจจัย
[๔๐๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ฌานปัจจัยเป็นต้น
[๔๐๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

วิปปยุตตปัจจัย
[๔๐๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่
เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูป เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
และที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัย
[๔๐๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อาหาระและอินทรียะ ได้แก่ กวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ (ย่อปัจจัย
นี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อาหาระและอินทรียะ ได้แก่
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๐๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่มข้อความจน
ถึงอสัญญสัตตพรหม)
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งโผฏฐัพพะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๔๐๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ โผฏฐัพพายตนะและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูป
โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ
อาหาระและอินทรียะ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๐] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๖ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๔๑๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูป
โดยอาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่
ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยอาหารปัจจัยและอินทรียปัจจัย (๓)
[๔๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
อุปาทายรูปโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๗. อุปาทาทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปโดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและ
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทายรูปและที่ไม่เป็นอุปาทายรูปโดยปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ l/r
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระl/r
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระl/r

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ l/r
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯl/r

(พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ l/r

อุปาทาทุกะ จบ
๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๑๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ อาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔๑๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๔๑๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๑๙] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๕ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๒๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๒๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบ
ด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป
๑ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
อุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มี
เหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๔๒๒] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร
เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย
เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่
ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย (๑)
นกัมมปัจจัย
[๔๒๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ได้แก่ เจตนาที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ อุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัย
[๔๒๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงคำว่า มีอุตุเป็นสมุฏฐาน)
นอาหารปัจจัย
[๔๒๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่
... ที่เป็นภายนอก ... มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
นอินทรียปัจจัย
[๔๒๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย
ได้แก่ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ อาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๔๒๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัยสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย (ปัจจัยนี้
เหมือนกับนเหตุปัจจัย ไม่มีโมหะ) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๔๓๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถืออาศัย
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย
ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม
... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถืออาศัยสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่
ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ไม่ยึดถือเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น
สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย
เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๓๑] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ
นอินทรียปัจ มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๓๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๓๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯ ลฯ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร

มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๓๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
และทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัย
วัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔๓๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ ทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่กรรม อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๔๓๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๓๗] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๓๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำสภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ทำสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔๓๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่ง
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มี
อุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำ
ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือทำสภาวธรรมที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและทำมหาภูตรูปให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) (ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๔๔๐] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๔๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ ฯลฯ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๔๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๔๔๓] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)

เหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ

อนุโลม จบ
[๔๔๔] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเกิดระคน
กับสภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ยึดถือ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ เกิดระคนกับ
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งกรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ (๑)

นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๔๕] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรม
อันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือและที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึด
ถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔๔๖] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ
... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วย
ตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิต
ที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์
รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
คันธายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น
... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยทิพพจักขุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๔๗] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น ยินดี
เพลิดพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย
พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว ฯลฯ พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลส
ที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่
กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ที่กรรมอัน
ประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เห็นแจ้งรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ ฯลฯ เสียง ฯลฯ
โผฏฐัพพะ และขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่อชวนจิตที่เป็นกุศลและอกุศลดับแล้ว
จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็น
ปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ฯลฯ รูปายตนะที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ สัททายตนะ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
อธิปติปัจจัย
[๔๔๘] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
กายและรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ... กลิ่น ... รส ...
โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอธิปติปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดพลิน เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
พิจารณานิพพาน ฯลฯ นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผลโดย
อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินรูปที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ
ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะและขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่
ยึดถือเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
อนันตรปัจจัย
[๔๔๙] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็น
วิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ภวังคจิตเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโน
วิญญาณธาตุที่เป็นกิริยาโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๔๕๐] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๘. อุปาทินนทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ ฯลฯ ขันธ์ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหา
และทิฏฐิไม่ยึดถือเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาร) มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย
[๔๕๑] สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกายเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกาย
โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและ
ทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดย
อุปนิสสยปัจจัย สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็น
ปัจจัยแก่สุขทางกายและทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิไม่ยึดถือโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์
อาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิยึดถือ ฯลฯ
โภชนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์ สุขทางกาย
ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ความ
ปรารถนา มรรค และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๒๖๙ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น