Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๗ หน้า ๓๒๔ - ๓๗๗

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๗ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยอุปาทาน ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและโลภะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบท
ที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่ง
วิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)
[๖๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะที่วิปปยุตจากทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสจึงเกิดขึ้น
แก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลสที่วิปปยุตจากอุปาทานซึ่งละได้แล้ว ฯลฯ
พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว ฯลฯ รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และโลภะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่วิปปยุต จากทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ (พึงเพิ่มทั้งหมดให้บริบูรณ์)
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงกายวิญญาณ) ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
อุปาทานเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และโลภะ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ
ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และโลภะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานจึง
เกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิและโลภะ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและโลภะจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะ ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย อธิบดีธรรมที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โลภะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคล
ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และโลภะให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน
ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุต
จากอุปาทาน และโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ เพราะทำจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และโลภะให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะ
จึงเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและ
โลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่ม
บทที่เป็นมูล) เพราะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
เพราะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะจึงเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบท
ที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะ
ซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจาก
ทิฏฐิและโลภะที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๗๓] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่วิปปยุตจาก
อุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
โลภะที่วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่ง
วิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) โลภะที่วิปปยุตจาก
ทิฏฐิซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและ
โลภะที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๗๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคต
ด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โลภะที่
วิปปยุตจากทิฏฐิซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบท ที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๗๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยสมนันตรปัจจัย

เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) มี ๖ วาระ
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (เหมือนกับปัจจยวาร) มี ๙ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๗๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่
เป็นมูล) ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิและโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้
เกิดขึ้น มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่วิปปยุตจากอุปาทาน ... มานะ
... ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่วิปปยุตจากอุปาทาน ...
มานะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย (อุปนิสสยปัจจัยมี ๓ วาระ) ได้แก่ บุคคลอาศัย
ศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... ราคะที่วิปปยุตจากอุปาทาน
... มานะ ... ความปรารถนา ... เสนาสนะแล้ว ลักทรัพย์ พูดเท็จ ฯลฯ พูดส่อเสียด
ฯลฯ พูดเพ้อเจ้อ ฯลฯ งัดแงะ ฯลฯ ปล้นไม่ให้เหลือ ฯลฯ ปล้นเรือนหลังเดียว ฯลฯ
ดักจี้ที่ทางเปลี่ยว ฯลฯ ล่วงเกินภรรยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน ... โมหะ ... มานะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา
... ราคะที่วิปปยุตจากอุปาทาน ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
และโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย
โลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ
และโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึง
เพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และ
วัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทานและโลภะโดยปุเรชาตปัจจัย
(๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์
ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ และโลภะจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุต
จากทิฏฐิและโลภะโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๘๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย
กัมมปัจจัยและวิปากปัจจัย
[๘๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่โลภะและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย เจตนาที่
สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โลภะ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๘๒] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งวิปปยุตจากอุปาทาน ฯลฯ
มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๘๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอาหารปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย
(ในปัจจัยทั้ง ๔ นี้ พึงแสดงไว้เหมือนที่แสดงโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิใน
กัมมปัจจัย มีอย่างละ ๔ วาระ)
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๘๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาต ได้แก่ ฯลฯ (๑)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๘๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๘๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ
อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (ใน ๒ ปัจจัยนี้ สหชาตัตถิเหมือนสหชาตะ ปุเรชาตัตถิเหมือน
ปุเรชาตะ) (๓)
[๘๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่โลภะโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ และ
กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิ โลภะ และ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและโลภะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะซึ่งวิปปยุตจากทิฏฐิและหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโลภะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๘๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๘๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๙๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุต
จากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๙๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสย-
ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๙๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๙๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๙๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

อุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ทิฏฐุปาทานอาศัยกามุปาทานเกิดขึ้น (พึง
ทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทาน สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
[๙๖] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (พึงเพิ่ม
ข้อความจนถึงมหาภูตรูปที่เป็นภายใน) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ อุปาทาน
อาศัยขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานอาศัยทิฏฐุปาทาน
และสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็น
อุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยอุปาทานและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของ
อุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานและอาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
(พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
(โดยนัยนี้ ปฏิจจวาร สหชาตวาร ปัจจยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และ
สัมปยุตตวาร พึงทำเหมือนกับอุปาทานทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน แต่การระบุ
บุคคลต่างกัน)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๙๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุ
ที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดย
เหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่
เหตุที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (เหมือนกับอุปาทานทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน
มี ๙ วาระ)
อารัมมณปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้
ทาน ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคล
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ (ย่อ) เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย (ย่อ ๒ วาระ
นอกนี้เหมือนกับอุปาทานทุกะ) (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานเป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่เป็นอารมณ์ของ
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและเป็นอารมณ์
ของอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (อธิปติปัจจัย ในหนหลัง มี ๓ วาระ
เหมือนกับอุปาทานทุกะ)
อธิปติปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน
ฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น พระเสขะ
พิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและ
ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทานแต่ไม่
เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย
(อารัมมณาธิปติปัจจัยและสหชาตาธิปติปัจจัยแม้ทั้ง ๒ อย่างที่เหลือ เหมือนกับ
อุปาทานทุกะ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
(อธิปติปัจจัยที่เป็นฆฏนา มี ๓ วาระ เหมือนกับอุปาทานทุกะ ปัจจัยทั้งหมด
ก็เหมือนกับอุปาทานทุกะ ในสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน ไม่มีโลกุตตระ
ปัจจนียะและการนับทั้ง ๒ อย่างนอกจากนี้เหมือนกับอุปาทานทุกะ)
อุปาทานอุปาทานิยทุกะ จบ
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทาน
อาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
อุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์
อาศัยอุปาทานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตด้วยอุปาทานและที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่
ไม่เป็นอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ กามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์อาศัยทิฏฐุปาทานเกิดขึ้น
(พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
... อาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน ฯลฯ (ย่อ
การระบุความที่มีข้อแตกต่างกันเหมือนกับอุปาทานทุกะ มี ๙ วาระ ไม่มีรูป พึง
ขยายวาระทั้งหมดให้พิสดารอย่างนี้ มีเฉพาะอรูปเท่านั้น)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ
๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่
เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานและสัมปยุต
ด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๐๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่สัมปยุตด้วยอุปาทาน
แต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓)
[๑๐๔] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตด้วยอุปาทานและที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วย
อุปาทานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตอุปาทานโดยเหตุปัจจัย
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วย
อุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่
เป็นมูล) เหตุที่เป็นอุปาทานสัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่
เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๕] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภ
อุปาทาน ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่
เป็นมูล) เพราะปรารภอุปาทาน อุปาทานและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่
เป็นอุปาทานจึงเกิดขึ้น (พึงทำให้เป็น ๓ วาระ ในฆฏนา ก็พึงทำให้เป็น ๓ วาระด้วย)
อธิปติปัจจัย
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (๓)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ (มี ๓ วาระ แม้ใน ๓ วาระก็พึงเพิ่มอธิปติปัจจัย
ทั้ง ๒ แม้แต่อธิปติปัจจัยที่เป็นฆฏนา ก็มี ๓ วาระ)
อนันตรปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
ที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานที่
เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงทำเป็น ๙ วาระ อย่างนี้ ไม่มีทั้งอาวัชชนจิต
และวุฏฐานะ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๘] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

อุปนิสสยปัจจัย
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอุปนิสสยปัจจัย
(มี ๓ วาระ แม้แต่ในอุปนิสสยปัจจัยที่เป็นฆฏนา ก็มี ๓ วาระ) เป็นปัจจัยโดย
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๑๑๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๑] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๑๒] สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย
และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ
อุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอุปาทานและสัมปยุตด้วยอุปาทานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นอุปาทาน สัมปยุตด้วยอุปาทาน และที่สัมปยุตด้วยอุปาทานแต่ไม่เป็นอุปาทาน
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (พึงทำเป็น ๙ วาระแม้
อย่างนี้ ในมูลแห่งปัจจัยแต่ละปัจจัยมีมูลละ ๓ วาระ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ l/r
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
นอนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

นมัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r
โนวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา)
อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ
๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๑๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์
ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่วิปปยุตจาก
อุปาทานไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรม
ที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานไม่เป็น
อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกะนี้เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ จบ
อุปาทานโคจฉกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
๑๒. กิเลสโคจฉกะ
๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑.วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ
ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ มานะ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ
และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะ
อาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น
โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโทสะเกิดขึ้น โมหะ อุทธัจจะ
อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโทสะเกิดขึ้น โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ และ
อโนตตัปปะอาศัยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น โมหะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโลภะเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
[๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ กิเลสอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กิเลส และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
กิเลสเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะ
อาศัยโลภะและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่ไม่เป็นกิเลสเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็น
กิเลสและอาศัยกิเลสเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
กิเลสและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็น
กิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ
อโนตตัปปะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลสและอาศัยโลภะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะอาศัยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น โมหะอาศัยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อ
ความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและอาศัยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะและอาศัยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยกิเลสและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
... เพราะนอธิปติปัจจัย
... เพราะนอนันตรปัจจัย
... เพราะนสมนันตรปัจจัย
... เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
... เพราะนอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๗] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และ
อโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะ
อาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัย
โลภะเกิดขึ้น โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น
โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ อุทธัจจะ
อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยโลภะเกิดขึ้น โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ และ
อโนตตัปปะอาศัยวิจิกิจฉาเกิดขึ้น โมหะ อหิริกะ และอโนตตัปปะอาศัยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (ในอรูปาวจรภูมิ ไม่มีบทที่มีโทสะเป็นมูล) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ สัมปยุตตขันธ์อาศัยกิเลสเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยกิเลสเกิดขึ้น (พึงทำเป็น ๙ วาระ อย่างนี้)
... เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
... เพราะนอาเสวนปัจจัย
นกัมมปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยกิเลสเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๑. ปฎิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่ไม่เป็นกิเลสเกิด
ขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตเจตนาอาศัยกิเลสและสัมปยุตตขันธ์เกิดขึ้น
(๑) (พึงเพิ่มปัจจัยทั้งหมดอย่างนี้)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสหชาตวาร พึงทำอย่างนี้)
๗๕. กิเลสทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส ทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปที่เป็นภายใน) ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ กิเลสทำขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กิเลสทำขันธ์ให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ กิเลสและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กิเลสทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น กิเลสและ
สัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ
และอโนตตัปปะทำโลภะและสัมปยุตตขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย)
กิเลสทำโลภะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่ เป็น
กิเลสและทำกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำ
กิเลสและมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสทำกิเลสและหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็น
กิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ
อหิริกะ อโนตตัปปะและจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลสและทำโลภะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงทำเป็นจักกนัย) โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะและสัมปยุตตขันธ์ทำโลภะและหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (พึงทำเป็นจักกนัย) (๓)
(ในอารัมมณปัจจัย บทที่มีสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นมูล พึงเพิ่ม
ปัญจวิญญาณ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำวิจิกิจฉาให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำอุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งไม่
เป็นกิเลสทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสทำสภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาทำวิจิกิจฉาสัมปยุตตขันธ์
และหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำอุทธัจจะ
สัมปยุตตขันธ์ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๔] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และนิสสยวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๗๕. กิเลสทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะเกิด
ระคนกับโลภะ (พึงทำเป็นจักกนัย พึงเพิ่มเป็น ๙ วาระ อย่างนี้)

เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นกิเลสเพราะนเหตุปัจจัย
(โดยนัยนี้ พึงทำวาระแห่งนเหตุปัจจัยเป็น ๔ วาระ)

นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียะ จบ
(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และสัมปยุตตวาร พึงทำอย่างนี้)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตกิเลสโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
เหตุที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (พึงอ้าง
บทที่เป็นมูล) เหตุที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กิเลส และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภกิเลส กิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภกิเลส สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
เพราะปรารภกิเลส กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ
เป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
และขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็น
รูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ
และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย
ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ยินดีเพลิดเพลินฌาน เพราะ
ปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสจึงเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีความเดือดร้อน
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลส เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่ไม่เป็น
กิเลสโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลส เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลส
โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำกิเลสให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น กิเลสจึงเกิดขึ้น มี ๓ วาระ (มีเฉพาะอารัมมณาธิปติปัจจัย
เท่านั้น) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
แก่ผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็น
กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตกิเลส
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ ยินดี
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
กิเลสและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลส
โดยอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (มีเฉพาะอารัมมณาธิปติปัจจัยเท่านั้น) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ กิเลสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสที่เกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) กิเลสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
กิเลสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย กิเลสเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) กิเลสที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
กิเลสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลส ซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่กิเลสที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่กิเลสโดย
อนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัย
แก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์โดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
กิเลสที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) กิเลสและสัมปยุตตขันธ์
ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ที่เกิด
หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๓)
... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กิเลสเป็นปัจจัยแก่กิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
[๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ
ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ
... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่กิเลสโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์โดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็น
กิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสโดย
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น กิเลสและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์โดย
ปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส
โดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่กิเลสโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กิเลส และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่กิเลสโดย
วิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
กิเลสและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ พึงขยายให้
พิสดาร)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (ย่อ สหชาตัตถิเหมือนกับสหชาตะ
ปุเรชาตัตถิเหมือนกับปุเรชาตะ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (สหชาตัตถิเหมือนกับ
สหชาตะ ปุเรชาตัตถิเหมือนกับปุเรชาตะ) (๓)
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ โลภะและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ
อุทธัจจะ อหิริกะ และอโนตตัปปะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย)
สหชาตะ ได้แก่ โลภะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ
อหิริกะ และอโนตตัปปะโดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลส และกิเลสเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ กิเลสและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ กิเลสและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นกิเลสโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ กิเลสและสัมปยุตตขันธ์เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ กิเลส สัมปยุตตขันธ์ และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ กิเลส สัมปยุตตขันธ์ และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลส
และไม่เป็นกิเลสโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นกิเลส และโลภะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
จิตตสมุฏฐานรูป โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะและอโนตตัปปะโดยอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ โลภะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ
อหิริกะ อโนตตัปปะและสัมปยุตตขันธ์โดยอัตถิปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) (๓)
... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย
... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๓๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย
สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
กิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นกิเลส
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย
และอินทรียปัจจัย(๒)
สภาวธรรมที่เป็นกิเลสและที่ไม่เป็นกิเลสเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกิเลส
และไม่เป็นกิเลสโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๖] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๓๗] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๕. กิเลสทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๔ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๘] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

กิเลสทุกะ จบ
๗๖. สังกิเลสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นอารมณ์ของกิเลสอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอารมณ์
ของกิเลสเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
(ทุกะนี้ เหมือนโลกิยทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สังกิเลสิกทุกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
เกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่
กิเลสทำให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
และไม่ทำให้เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๑] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๕ วาระ (ย่อ)
อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองอาศัยสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่
มีเหตุซึ่งกิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๔๓] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้ และสหชาตวาร พึงทำอย่างนี้)
๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๔] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมอง
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงมหาภูตรูปภายใน) ขันธ์ที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลส
ไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่กิเลสทำให้
เศร้าหมองทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
[๔๕] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
และไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำ
ขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่กิเลสไม่ทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและ
ไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่
กิเลสทำให้เศร้าหมองและไม่ทำให้เศร้าหมองให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่กิเลสทำให้เศร้าหมองและทำ
มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมองทำสภาวธรรมที่กิเลสทำให้เศร้าหมอง
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๓๗๗ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น