Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๑-๗ หน้า ๓๓๕ - ๓๙๐

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑-๗ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจั มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ ซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๔๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเกิดระคนกับสภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเกิดระคนกับสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคค-
ปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๒] นเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ
มัคคปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)
๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยเหตุปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานโดยเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานแล้ว
พิจารณาฌาน พระเสขะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลส
ที่เคยเกิดขึ้น พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ... วิจิกิจฉา ... อุทธัจจะ ... โทมนัสจึง
เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล
โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตน-
กุศล ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณา
กิเลสที่ละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อม
ด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติด้วยเจโตปริยญาณ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้ง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อ
กุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิดขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ บุคคลยินดีเพลิดเพลิน
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับแล้ว จิตตุปบาทที่เป็นวิบากจึงเกิด
ขึ้นโดยเป็นตทารมณ์ อากาสานัญจายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก
และกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศลเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานา-
สัญญายตนวิบากและกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานด้วยเจโต-
ปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสา-
นุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่
พระอรหันต์พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลและอาวัชชนจิต
โดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟัง
เสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนกิริยาโดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกิริยาเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอารัมมณปัจจัย พระ
เสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ...
อุทธัจจะ ... โทมนัส ... เห็นรูปด้วยทิพพจักขุฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย
อารัมมณปัจจัย (๓)
อธิปติปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
และสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ
ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๕๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้
ถึงนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระ
เสขะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและ
สหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่าง
เดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๔)
[๕๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอธิปติปัจจัยมี ๒ อย่าง
คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอธิปติ-
ปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ
ได้แก่ พระเสขะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นนิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอธิปติปัจจัย
บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ... ยินดีเพลิดเพลินหทัย-
วัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้วยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะจึง
เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัย
[๕๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอนันตร-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมของพระเสขะเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตเป็นปัจจัย
แก่อาวัชชนจิต กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ อนุโลมของพระอรหันต์เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอนันตรปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย)
(ในปฏิจจวาร สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับสหชาตวาร ในปฏิจจวาร
อัญญมัญญปัจจัยเหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจยวาร นิสสย-
ปัจจัยเหมือนกับนิสสยวาร แม้ทั้ง ๔ ปัจจัยไม่มีฆฏนาแผนกหนึ่ง มี ๑๓ วาระ)
อุปนิสสยปัจจัย
[๕๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา
ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอาศัยศีลที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติ ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ โทสะ ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วให้ทาน สมาทานศีล
รักษาอุโบสถ ทําฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา
ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัย
แก่ปฐมฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่
เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ
บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติแล้ว
ทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยศีลที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทําตนให้
เดือดร้อนให้ร้อนรนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศลเป็น
ปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรค
เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ และปกตูป-
นิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระเสขะอาศัยมรรคแล้วทํากุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้ากุศลสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา มรรคของพระเสขะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ... ธัมมปฏิสัมภิทา ...
นิรุตติปฏิสัมภิทา ... ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ... ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่
ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรคแล้วทํากิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด
ให้เกิดขึ้น เข้ากิริยาสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความเป็นผู้ฉลาดใน
ฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย (๓)
[๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓
อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อน
รนเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูลอาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วทําตนให้เดือดร้อนให้ร้อนรน ฯลฯ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ...
อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย และผล-
สมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย พระอรหันต์อาศัยสุขทางกายแล้วทํากิริยาสมาบัติที่ยัง
ไม่เกิดให้เกิดขึ้น เห็นแจ้ง ฯลฯ อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ
เห็นแจ้ง ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทําลายสงฆ์อาศัยทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... ความ
ปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้วทํามรรคให้เกิดขึ้นอาศัย
ทุกข์ทาง กาย ฯลฯ เสนาสนะแล้วทํามรรคให้เกิดขึ้น สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
ปุเรชาตปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒
อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดย
เป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ
และวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ
ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน
ซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย
อาเสวนปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติซึ่งเกิดหลัง ๆ โดย
อาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวน-
ปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๔๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและ
จุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
นานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย
ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิบากโดยกัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนา
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมม-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปากปัจจัย ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย
วิปปยุตตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ
สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
และจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๓ วาระ (พึงทำตามนัยแห่งสภาว-
ธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ)
[๖๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง
คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน
ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสขะหรือปุถุชนเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี
เพลิดเพลิน เพราะปรารถความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึง
เกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน
เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ
จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดย
อัตถิปัจจัยมี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และมหาภูตรูปเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอัตถิปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒
วาระตามนัยที่แสดงแล้ว) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็น
ปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยสหชาต-
ปัจจัย (๔)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุ
ให้ถึงนิพพานโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง
ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย
และปัจฉาชาตปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง
นิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต-
ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ มี ๒ อย่าง คือ
สหชาตะและปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ
และนิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน มี ๔
อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอินทรีย์ปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๖ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๖ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๐. อาจยคามิติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๖ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๖ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)


ปัจจนียานุโลม จบ
อาจยคามิติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปและ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคล อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (มี ๓ วาระ พึงเพิ่มให้
บริบูรณ์)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี ๓ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิด
ขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุ
อาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
ของอเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ พึงเพิ่ม
ปฏิสนธิและมหาภูตรูปทั้งหมด) เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗
วาระ (เหมือนกับกุสลติกะ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
[๑๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล ... มี
๓ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล (บริบูรณ์แล้ว ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ... ฆฏนา บริบูรณ์แล้ว พึงเพิ่ม
๒ วาระ มี ๙ วาระ) เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลอาศัย
ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูต-
รูป ๑ ฯลฯ
นวิปากปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลอาศัย
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)
[๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว ไม่มี
ปฏิสนธิ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย
เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสัมปยุตตปัจจัยเป็นต้น
[๑๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับ
นอารัมมณปัจจัย)
นวิปปยุตตปัจจัยเป็นต้น
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
อเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๑๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอาเสวนปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๑๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สัมปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร)
๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
[๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)
จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลอาศัยสภาวธรรมที่เป็นของ
เสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลทำสภาว-
ธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและ
ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
... ทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
... มี ๓ วาระ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น มี ๑ วาระ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุ-
วิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสข-
บุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
อธิปติปัจจัยเป็นต้น
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย
เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ... ทำ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... (๑)
กัมมปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคล ... เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะ
ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๒๔] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๒ ... ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่
เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว)
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... จักขายตนะ ... ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่
อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย (มี ๗ วาระ) เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่
เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ฯลฯ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำหทัยวัตถุให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็น
ของเสขบุคคลทำขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นมูล
มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (บทมีสภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็น
ของเสขบุคคลอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (ในเสกขฆฏนา มี
๓ วาระ)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลทำสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย เพราะ
นอินทรียปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย ฯลฯ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๓๐] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๓๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอัญญมัญญปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๓๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๑ }


๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคล
ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคล ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะ
อาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๕] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓
เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับขันธ์
ที่เป็นของเสขบุคคล (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเกิดระคนกับขันธ์ที่
เป็นของอเสขบุคคล (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะนอธิปติปัจจัย
(บริบูรณ์แล้ว มี ๑ วาระ)
นปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคล เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
เพราะนกัมมปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่ม ๒ วาระ) เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๐] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๑ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นัตถิปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)
๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคล โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยเหตุปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและ
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นของเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
... (มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่
เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณา
มรรค พิจารณาผลที่เป็นของเสขบุคคล รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิต
ที่เป็นของเสขบุคคลด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นของ
อเสขบุคคล รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นของอเสขบุคคลด้วย
เจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๔๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส
ที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งจักษุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดี ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ
ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่
วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา-
ยตนะโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
อธิปติปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น พิจารณาผลที่เป็นของเสขบุคคลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและ
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห-
ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม
ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นของอเสขบุคคลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สห-
ชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๔๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็น
ปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลที่เป็นของเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคล ซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล
ที่เป็นของเสขบุคคล ผลที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของเสขบุคคลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตร-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ผลที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ผลที่เป็นของ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๐ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น