Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๑-๘ หน้า ๓๙๑ - ๔๔๖

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑-๘ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๘ ปัฏฐาน ภาค ๒



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ติกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ผลที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
[๕๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัย
แก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคล เนวสัญญานา-
สัญญายตนกุศลของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคล
โดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็น
ของอเสขบุคคล เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอนันตรปัจจัย (๓)
สมนันตรปัจจัย
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ)
สหชาตปัจจัยเป็นต้น
[๕๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาร มี ๙
วาระ) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยในปฏิจจวาร
มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัยเหมือนกับนิสสยปัจจัยในกุสลติกะ มี ๑๓ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๕๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย
ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถ-
มรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคลโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะอาศัยมรรคแล้วทํากุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้ากุศลสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นแจ้งสังขาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
มรรคของพระอริยะเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา และความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย
ผลสมาบัติที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สุขทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๕๔] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของ
อเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ ฯลฯ
ผลที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สุขทาง
กายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
[๕๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป-
นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสข-
บุคคล แล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําฌาน ... วิปัสสนา ... อภิญญา
... สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิอาศัยศีลที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล
... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ อุตุ ... โภชนะ
... เสนาสนะ แล้วให้ทาน สมาทานศีล ... ทําสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทําลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล ... ปัญญา ... ราคะ ...
ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคล ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานโดย
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะ ฯลฯ ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ทุติยฌานโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูป-
นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรคโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ
อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ
อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นของเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยปุเรชาตปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๕๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลซึ่ง
เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลซึ่งเกิดภาย
หลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๕๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานโดยอาเสวนปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็น
ปัจจัยแก่มรรคโดยอาเสวนปัจจัย (๒)
กัมมปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
กัมมปัจจัย
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก
ซึ่งเป็นของเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลโดย
กัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ ได้แก่ เจตนา
ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของเสข-
บุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๔)
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของ
อเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นของ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
[๖๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปากปัจจัย
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ (บทที่มีสภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ซึ่งไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย (๑)
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ
วิปปยุตตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของ
เสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสข-
บุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ
(เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและ
อเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ของอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)
อัตถิปัจจัย
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
โดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของ
เสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ (เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)
[๖๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ
ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดย
อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตต-
พรหม ฯลฯ
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๓๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย (๓)
[๖๗] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ
และปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นของเสขบุคคลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง
คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย
แก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นของเสขบุคคลและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (พึงเพิ่ม ๒ วาระ
เหมือนกับสภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๖๘] เหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
โดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยสหชาตปัจจัย (๔)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสข-
บุคคลโดยสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคล
และอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล
และที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลโดยสหชาตปัจจัย (๓)
[๗๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุป-
นิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ
อินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
เป็นของอเสขบุคคลโดยอุปนิสสยปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคล
เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคล มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ
ปุเรชาตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นของอเสขบุคคลและที่ไม่เป็นของเสขบุคคลอเสขบุคคลเป็น
ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นของเสขบุคคลและอเสขบุคคล มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๗๓] นเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย

[๗๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

นวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ
นอาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นอินทรีย์ปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นมัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย

[๗๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๘ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๘ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นิสสยปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๘ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๘ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๑. เสกขติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ
อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ
ฌานปัจจัย ” มี ๗ วาระ
มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย ” มี ๘ วาระ
วิคตปัจจัย ” มี ๘ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
เสกขติกะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะเหตุ
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น
กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๒] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๓] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย
ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๐๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะอนันตร-
ปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย (พึงเพิ่มมหาภูตรูปเข้าทั้งหมด)
เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาต-
ปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ) เพราะอาเสวนปัจจัย (พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย (มี ๑๓ วาระ) เพราะอาหารปัจจัย เพราะ
อินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ
อวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๙] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง
เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๑๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ
เป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ อาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเกิด
ขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย
[๑๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (พึงขยายมหาภูตรูปทั้งหมดให้พิสดาร ในอรูปาวจรภูมิ บท
ที่มีปริตตะเป็นมูล มี ๓ วาระ)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและ
ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิด
ขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ...
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๓)
[๒๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิด
ขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและ
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและ
ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
นกัมมปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะอาศัยขันธ์ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ... ที่
เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นวิปากปัจจัย
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก
... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่าอสัญญ-
สัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็น
อัปปมาณะและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอาหารปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดขึ้นเพราะ
นอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม (พึงขยายให้พิสดาร) เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ...
ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย
ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ
สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูปทั้งหมด)
เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มมหาภูตรูป
ทั้งหมด) เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่เป็น
ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะอาศัยสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดขึ้นเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๑๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๒๕] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๒๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๒๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ

(พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำ
ขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ที่เป็นอุปาทายรูป ขันธ์ที่เป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่
เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕)
[๒๙] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ... ทำ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
... ทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ ... มี ๓ วาระ
[๓๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นอัปปมาณะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๖ วาระ
ที่เหลือเหมือนกับเหตุปัจจัย พึงเพิ่มเป็น ๗ วาระ) เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ
๑๗ วาระบริบูรณ์แล้ว) เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๓๒] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะ
ซึ่งเป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณ
ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น โมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๕ วาระ)
นอธิปติปัจจัย
[๓๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ ทำจักขายตนะ ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็น
ปริตตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔)
[๓๖] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
[๓๗] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็น
อัปปมาณะทำขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่ง
เป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะทำขันธ์ที่
เป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่
เป็นมหัคคตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูปทำขันธ์
ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะทำสภาวธรรมที่เป็นปริตตะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ
นอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๑๒ วาระ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย (บริบูรณ์แล้ว พึงชี้แจงว่า เป็นวิบาก
แต่จิตตสมุฏฐานรูปไม่พึงจัดเป็นวิบาก) เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย
(ไม่มีปฏิสนธิและวิบาก) เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทรียปัจจัย เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๓๙] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๓. ปัจจยวาร
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๔๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจั ” มี ๑๗ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๔๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
วิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๒๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ
สมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย
เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอาเสวนปัจจัย
(ไม่มีทั้งวิบากและปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย
เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย
เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๔๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะ ฯลฯ
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคน
กับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอธิปติ-
ปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ ... เกิด
ระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็น
อัปปมาณะ (๑)
นปุเรชาตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะนปุเร-
ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑
ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอาเสวน-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)
นกัมมปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นปริตตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนกัมม-
ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็น
อัปปมาณะ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
นวิปากปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนวิปาก-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะ
ฯลฯ (๑)
นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ
ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น
อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๕๒] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๕๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๕๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)

ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๕๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยเหตุ-
ปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ (พึงเพิ่มปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย
[๕๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณา
กุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว พระอริยะพิจารณาโคตรภู พิจารณา
โวทาน พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น
เห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น
ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นปริตตะด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ
และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๕๗] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นมหัคคตะ
ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์
ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ
พิจารณาทิพพจักขุ พิจารณาทิพพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณ พิจารณาเจโต-
ปริยญาณ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณายถากัมมูปคญาณ และ
พิจารณาอนาคตังสญาณ เห็นแจ้งขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น (๒)
[๕๘] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอัปปมาณะ
ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ และอนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
อธิปติปัจจัย
[๕๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พระเสขะพิจารณาโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
พิจารณาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ
หทัยวัตถุและขันธ์ที่เป็นปริตตะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึง
เกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลพิจารณาปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ทิพพจักขุ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังส-
ญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่เป็นมหัคคตะให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๐] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคและผลโดยอธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและโวทานโดย
อธิปติปัจจัย
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่
เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
อนันตรปัจจัย
[๖๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นปริตตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
ปริตตะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดย
อนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ จุติจิตที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ขันธ์ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย บริกรรม-
ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ
บริกรรมอนาคตังสญาณเป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ฯลฯ
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๖๒] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
มหัคคตะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย
ได้แก่ จุติจิตที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย
ภวังคจิตที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็น
มหัคคตะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของท่านผู้ออกจาก
นิโรธโดยอนันตรปัจจัย (๓)
[๖๓] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอัปปมาณะซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ฯลฯ ผล
เป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตะโดยอนันตรปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตร-
ปัจจัย ได้แก่ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตะโดยอนันตรปัจจัย (๓)
(สมนันตรปัจจัยเหมือนกับอนันตรปัจจัย)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๓๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สหชาตปัจจัย
[๖๔] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
สหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ
ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับ
เหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยสหชาต-
ปัจจัย (๒)
[๖๕] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
สหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาตปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๖๖] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาต-
ปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยสหชาต-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
[๖๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นปริตตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ (๒)
อัญญมัญญปัจจัย
[๖๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่า
อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอัญญมัญญ-
ปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย
อัญญมัญญปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ
และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ (๑)
นิสสยปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสย-
ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๐] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
นิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๗๑] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยนิสสยปัจจัย
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
ปริตตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
อัปปมาณะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะและหทัยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะ
โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตะและมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะและที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น
มหัคคตะโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะและ
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
อุปนิสสยปัจจัย
[๗๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะถือทิฏฐิอาศัยศีลที่เป็นปริตตะ ฯลฯ
ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ... ทําลายสงฆ์
ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ...
เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา
... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย กรรมที่เป็นกุศลและอกุศล
เป็นปัจจัยแก่วิบากโดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาตโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัย) มาตุฆาตกรรมเป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
โดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงทําให้เป็นจักกนัยเหมือนกับกุสลติกะ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาโดย
อุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะเป็น
ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ
บริกรรมอนาคตังสญาณ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตะแล้วทำฌานที่เป็น
อัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
ปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำ
ผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญา ... มรรค ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย
บริกรรมปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ... บริกรรมจตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๓] สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วทําฌานที่เป็น
มหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่เป็น
มหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาแล้วทําฌานที่เป็นมหัคคตะให้เกิดขึ้น ทำอภิญญาให้เกิด
ขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาเป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่
ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วให้ทาน สมาทาน
ศีล รักษาอุโบสถ ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่เป็นมหัคคตะ
... ปัญญาแล้วให้ทาน ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ... ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ...
ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ
ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน] ๑๒. ปริตตติกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตะแล้วทำฌานที่เป็น
อัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่เป็น
มหัคคตะ ... ปัญญาแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น
ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นมหัคคตะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อัปปมาณะ ... ปัญญา ... มรรค ... ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๗๔] สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะแล้วทําฌานที่
เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่
เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาแล้ว ทําฌานที่เป็นอัปปมาณะให้เกิดขึ้น ทำมรรคให้
เกิดขึ้น ทำผลสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาเป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาโดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมมรรคเป็นปัจจัย
แก่ทุติยมรรค ... ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ฯลฯ มรรคเป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นปริตตะโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะแล้วให้ทาน
สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้นอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณะ ...
ปัญญาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ... ทําวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ...
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณะ ... ปัญญาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตะ ... ปัญญา ...
สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติเป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอริยะอาศัยมรรคแล้วเห็นแจ้งสังขารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า :๔๔๖ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น