Google Analytics 4

ร่วมแชร์เป็นธรรมทานนะครับ

เล่มที่ ๔๓-๒ หน้า ๕๕ - ๑๐๘

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓-๒ อภิธรรมปิฎกที่ ๑๐ ปัฏฐาน ภาค ๔



พระอภิธรรมปิฎก
ธัมมานุโลม ทุกปัฏฐาน
_____________
ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิก
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและ
ที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และ
จิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อธิปติปัจจัย
[๙๗] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
อธิปติปัจจัย (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๙๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิกเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตและจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิกเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิกเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ (๓)
[๑๐๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยจิตเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สําหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ...
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยจิตที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตที่เป็น
อเหตุกะเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปอาศัย
จิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๓)
[๑๐๑] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็น
เจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและอาศัยจิต
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิก
และอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิกและอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิก
และอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิก
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตอาศัยขันธ์ที่เป็น
เจตสิกและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและ
ที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและอาศัยจิตเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและ
อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
นอารัมมณปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิกและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๐๓] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ l/r
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระl/r
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระl/r
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระl/r
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระl/r
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระl/r
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระl/r
นฌานปัจจัย มี ๖ วาระl/r
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระl/r
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระl/r
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระl/r
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระl/r

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๐๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระl/r
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)l/r

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๐๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯl/r
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระl/r


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๕๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

อาเสวนปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)
๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๐๖] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุ
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น หทัยวัตถุ
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นเจตสิก
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทำจิต
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ใน
ปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
[๑๐๗] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและ
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก
และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่ม
เข้าทั้ง ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเจตสิกและ
ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเจตสิกและทำมหาภูตรูป
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำขันธ์ที่เป็นเจตสิกและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๓ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่
ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และจิตทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ...
ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ) (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๐๘] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ
กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ สัมปยุตตขันธ์ทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ขันธ์ที่เป็นเจตสิกทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้า
ทั้ง ๒ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทำ
จักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ วาระ) (๓)
[๑๐๙] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขุวิญญาณให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่
เป็นเจตสิกและทำจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑
ที่เป็นเจตสิกและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ใน
ปฏิสนธิขณะ มี ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกให้
เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จักขุวิญญาณทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
ฯลฯ จิตทำขันธ์ที่เป็นเจตสิกและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (ในปฏิสนธิขณะ
มี ๑ วาระ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและ
ที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และ
จักขุวิญญาณทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ วาระ
ย่อ) (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๑๐] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

ปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๑๑] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกทำสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งเป็นเจตสิก ย่อ)
(มี ๙ วาระ พึงเพิ่มปัญจวิญญาณเหมือนอารัมมณปัจจัย เฉพาะใน ๓ วาระ
เท่านั้นมีโมหะ ผู้รู้พึงจัดวาระทั้งหมดไว้ในปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๑๒] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๓. ปัจจยวาร

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๑๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๑๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ l/r
อนันตรปัจจัย ” มี ๙ วาระl/r

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๕๗. เจตสิกทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑๕] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ... เกิดระคนกับ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ จิตเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นเจตสิก ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตเกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ...
เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเพราะเหตุปัจจัย
ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์เกิดระคนกับจิต ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและเกิดระคน
กับจิต ... เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) (ย่อ)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร

[๑๑๖] เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๕ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
[๑๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเพราะ
นเหตุปัจจัย (โดยนัยนี้ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๕ วาระ เฉพาะ ๓ วาระมีโมหะ ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๑๘] นเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงเพิ่มอย่างนี้)
๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๑๙] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดยเหตุปัจจัย
ได้แก่ เหตุที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๒๐] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ที่เป็นเจตสิกจึงเกิดขึ้น
(พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิก จิตจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่
เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิก ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตจึงเกิดขึ้น (๓)
[๑๒๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณาผล พิจารณา
นิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดย
อารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสต-
ธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเจตสิกด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่
เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอารัมมณ-
ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน (เหมือนกับข้อความ
ตอนต้น) บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นเจตสิกโดยเป็นสภาวะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพ-
โสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่เป็นเจตสิกด้วยเจโตปริยญาณ
อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และ
อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน
(เหมือนกับข้อความตอนต้น) บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี
เพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วย
ทิพพจักขุ ฯลฯ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์โดย
อารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตต-
ขันธ์ ฯลฯ ขันธ์ ที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๓)
[๑๒๒] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิต ขันธ์
ที่เป็นเจตสิกจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิต
จิตจึงเกิดขึ้น (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิต ขันธ์ที่เป็น
เจตสิกและจิตจึงเกิดขึ้น (๓)
อธิปติปัจจัย
[๑๒๓] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่เป็นเจตสิกจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น จิตจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตและ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทําขันธ์ที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
จิต และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
[๑๒๔] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผล
โดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็น
เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้น
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น จิตจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตและจิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพานให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ (เหมือนกับข้อความตอนต้น) บุคคลยินดี

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๖๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
เพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุและขันธ์ที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
โดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน ฯลฯ
(เหมือนกับข้อความตอนต้น) บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่เป็นเจตสิกให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (มีเฉพาะ
อารัมมณาธิปติปัจจัย)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๕] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
เจตสิกซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล) ขันธ์ที่เป็นเจตสิกซึ่ง
เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล)
ขันธ์ที่เป็นเจตสิกซึ่งเกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตที่เกิดหลัง ๆ
โดยอนันตรปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ โดย
อนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอนันตรปัจจัย
(โดยนัยนี้พึงเพิ่มเป็น ๓ วาระ เหมือนกับข้อความตอนต้น พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มี
ข้อแตกต่างกัน)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (ไม่มีอาวัชชนจิตและวุฏฐานะ)
เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
มี ๙ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
(เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๒๗] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดย
อุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ) ขันธ์ที่เป็น
เจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงอ้างบทที่เป็นมูล อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ) ขันธ์ที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตโดย
อุปนิสสยปัจจัย (๓)
[๑๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะและจิต
แล้วให้ทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะและจิตเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย
... ทุกข์ทางกาย ... มรรคและผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ
ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะและจิต
แล้วให้ทาน ฯลฯ (มี ๓ วาระ เหมือนกับข้อความตอนต้น ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็น
ต้นนั้น จิตจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสต-
ธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุ
เป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์จึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง
ด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยปุเรชาต-
ปัจจัย (๓)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๑๓๐] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดย
ปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดยปัจฉาชาต-
ปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอาเสวน-
ปัจจัย (ย่อ)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
กัมมปัจจัย
[๑๓๑] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยกัมม-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากโดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดยกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตและจิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิต และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก จิต
และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยเป็นต้น
[๑๓๒] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัย
โดยอินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ เป็น
ปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๓๓] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย จิตเป็นปัจจัยแก่
หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดยวิปปยุตตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิก โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่างคือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและ
จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์
ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่จิตและสัมปยุตตขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ)
อัตถิปัจจัย
[๑๓๔] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๑๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิ-
ขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเจตสิกโดย
อัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ จิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตโดยอัตถิปัจจัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่มีข้อแตกต่างกัน) (๓)
[๑๓๖] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเจตสิกโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก
หทัยวัตถุ และจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก หทัยวัตถุ และจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ) (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเจตสิก จิต และมหาภูตรูปเป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยอัตถิปัจจัย
(ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๓ วาระ)
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิกและจิตเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดย
อัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิก จิต และกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเจตสิก จิต และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
และที่ไม่เป็นเจตสิกโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณและกายายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และจิตโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ (ในปฏิสนธิขณะ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๒ วาระ) (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๓๗] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓๘] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓)
[๑๓๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิก
โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย
อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกโดยอารัมมณ-
ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๗๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๗. เจตสิกทุกะ ๗. ปัญหาวาร
[๑๔๐] สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม
ที่เป็นเจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่เป็น
เจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย และ
ปัจฉาชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่เป็นเจตสิกและที่ไม่เป็นเจตสิกเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นเจตสิก
และที่ไม่เป็นเจตสิกโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร

[๑๔๑] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๔๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นมัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปปยุตตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๔๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

เจตสิกทุกะ จบ
๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังคาร
เหตุปัจจัย
[๑๔๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑
ที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
[๑๔๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุต
จากจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
[๑๔๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุต
จากจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิต
และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
จิตและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๔๗] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้นเพราะ
อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุต
จากจิตเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑
ที่สัมปยุตด้วยจิตและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๔๘] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๔๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสัมปยุต
ด้วยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
(โดยนัยนี้ พึงเพิ่มเข้าทั้ง ๙ วาระ พึงกําหนดคําว่า เป็นอเหตุกะทุก ๆ วาระ
พึงทําโมหมูลอย่างเดียวให้บริบูรณ์)
นอารัมมณปัจจัย
[๑๕๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิต
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเกิดขึ้นเพราะ
นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตอาศัยสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุต
จากจิตเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยจิตและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑ (ย่อ) (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕๑] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๕๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๕๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ ฯลฯ
ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย ” มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๕๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต
ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตทำหทัยวัตถุให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๓)
[๑๕๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑
ที่สัมปยุตด้วยจิตและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจาก
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
จิตและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๕๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจาก
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย
เกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ย่อ) (๑)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕๗] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร

สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๕๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ... ทำมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึง
อสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น
ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยจิตทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตทำสภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยจิต
ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๘๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๓. ปัจจยวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตทำสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจาก
จิตให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยจักขุวิญญาณและทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งสัมปยุตด้วยจิตและทำ
หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น
(โดยนัยนี้ พึงเพิ่มทั้ง ๒ วาระ ให้เป็นปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล ย่อ)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๕๙] นเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ

๓ ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๖๐] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๖๑] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ

(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)
๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
[๑๖๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเกิดระคนกับสภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิต ...
เกิด ระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

เหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๑ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
นอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
นกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

(การนับ ๒ อย่างนอกนี้และสัมปยุตตวาร พึงทําอย่างนี้)
๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๖๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยจิตโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย
เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
เหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๖๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้น
ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้
ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว
พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว
รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยสภาวธรรมที่สัมปยุต
ด้วยจิตด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)
[๑๖๕] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู โวทาน มรรค ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็น
แจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่วิปปยุตจากจิตโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อธิปติปัจจัย
[๑๖๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ
อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว
พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทําความ
ยินดีเพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะ
ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น
สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ
์โดยอธิปติปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิบดีธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อธิปติปัจจัย (๓)
[๑๖๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะพิจารณา
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน
มรรค และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และ
ขันธ์ที่วิปปยุตจากจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทําความยินดีเพลิดเพลิน
จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๖๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตซึ่งเกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร ไม่มีฆฏนาในปัญหาวาร) เป็น
ปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดย
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ (เหมือนกับปัจจยวาร ไม่มีฆฏนาในปัญหาวาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๖๙] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิต
โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ มีมานะ ถือทิฏฐิ
อาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ ทุกข์ทางกายเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ มรรค
และผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ และเสนาสนะแล้วให้ทาน
ฯลฯ ทําลายสงฆ์ อุตุ ฯลฯ โภชนะและเสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ
ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑)
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๗๐] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็น
สภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย
ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
ปุเรชาตปัจจัย (๑)
ปัจฉาชาตปัจจัยและอาเสวนปัจจัย
[๑๗๑] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
จิตโดยปัจฉาชาตปัจจัย (ย่อ) มี ๑ วาระ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย
[๑๗๒] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมม-
ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากโดย
กัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย
กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย
กัมมปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ
สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ
กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓)
วิปากปัจจัยและอาหารปัจจัย
[๑๗๓] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
อาหารปัจจัย ได้แก่ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย (๑)
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๑๗๔] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
อินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย
อินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิตโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และสุขินทรีย์
ฯลฯ กายินทรีย์และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดย
อินทรียปัจจัย (๑)
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๕] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจาก
จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดย
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุต
ด้วยจิตโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๑๗๖] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๘ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตโดยอัตถิปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร) (๓)
[๑๗๗] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต
โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (ย่อ) (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิต
โดยอัตถิปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง
ฯลฯ (ปัจจัยนี้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย) (๒)
[๑๗๘] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาว-
ธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและกายายตนะเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยจิตและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
วิปปยุตจากจิตโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทรียะ
สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่
กายนี้โดยอัตถิปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยจิตและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๙๙ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๗๙] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
อาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ
อินทรียปัจจัย มี ๖ วาระ
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ

อนุโลม จบ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๐ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๘๐] สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วย
จิตโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตโดย
สหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่
วิปปยุตจากจิตโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๓)
[๑๘๑] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิต
โดยสหชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตโดย
อารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
สัมปยุตด้วยจิตโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย (๑)
สภาวธรรมที่สัมปยุตด้วยจิตและที่วิปปยุตจากจิตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่
วิปปยุตจากจิตโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรีย-
ปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๘๒] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ
นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๑ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
นสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ
นนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๗ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ

[๑๘๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
นอธิปติปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ
นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๓ วาระ)

นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑ วาระ
โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ
โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๒ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม

[๑๘๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ
อธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ

(พึงเพิ่มบทอนุโลมมาติกา) ฯลฯ

อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ

จิตตสัมปยุตตทุกะ จบ
๕๙. จิตตสังสัฏฐทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
[๑๘๕] สภาวธรรมที่ระคนกับจิตอาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ระคนกับจิตเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่ระคนกับจิตอาศัยสภาวธรรมที่ระคนกับจิตเกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ระคนกับจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
ฯลฯ (๒)
(พึ่งเพิ่มจิตตสังสัฏฐทุกะเหมือนจิตตสัมปยุตตทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
จิตตสังสัฏฐทุกะ จบ
๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘๖] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิต

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๓ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
เป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
จิตและกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป
ทำขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ
ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูปทำขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
[๑๘๗] สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็น
สมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยจิตเกิดขึ้น
หทัยวัตถุอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีจิตเป็น
สมุฏฐานอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์
และกฏัตตารูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๑๘๘] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัย

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๔ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่
เป็นอุปาทายรูปอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐาน และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและ
อาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
อารัมมณปัจจัย
[๑๘๙] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัยได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
[๑๙๐] สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็น
สมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น (๑)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๕ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ
สัมปยุตตขันธ์อาศัยจิตเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัย
หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตและ
สัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)
[๑๙๑] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยจิตเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยจิตเกิดขึ้น ...
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตอาศัย
ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มี
จิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ใน
ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิตอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและอาศัยหทัยวัตถุ
เกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย

[๑๙๒] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ
อารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ


{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๖ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ l/r
อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระl/r
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระl/r
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระl/r
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระl/r
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระl/r
อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระl/r
กัมมปัจจัย มี ๙ วาระl/r
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อาหารปัจจัย มี ๙ วาระl/r
อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระl/r
ฌานปัจจัย มี ๙ วาระl/r
มัคคปัจจัย มี ๙ วาระl/r
สัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระl/r

(ทุกปัจจัยมีปัจจัยละ ๙ วาระ)

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ l/r

อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๑๙๓] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่
ไม่มีเหตุซึ่งมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๗ }

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] ๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ ๑. ปฏิจจวาร
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตอาศัยขันธ์ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ใน
ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ จิตและกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรม
ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๒ จิตและจิตต-
สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่มีเหตุซึ่งมีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ... อาศัยขันธ์ ๒
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ (๓)
[๑๙๔] สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็น
สมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูป
อาศัยจิตเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยจิตเกิดขึ้น จิตอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (พึงเพิ่มข้อความจนถึงอสัญญสัตตพรหม) (๑)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยจิตที่เป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัยจิต ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น
อเหตุกะ ขันธ์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๒)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานอาศัยสภาวธรรมที่
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ
สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปอาศัยจิตเกิดขึ้น ในขณะปฏิสนธิที่เป็นอเหตุกะ
จิตและสัมปยุตตขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๓)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า :๑๐๘ }

ไม่มีความคิดเห็น :

แสดงความคิดเห็น